ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนเพชรบุรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
ลบภาพ "มุมมองถนนเพชรบุรี_2014-07-11_07-06.jpg", ซึ่งถูกลบที่คอมมอนส์โดย Magog the Ogre เพราะ Copyright violation, found...
นคร ไชยมงคล (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
* แยกทองหล่อ - เพชรบุรี
* แยกทองหล่อ - เพชรบุรี


* แยกเอกมัยเหนือ
* แยกเอกมัยเหนือ (ปนกับ[[ถนนพัฒนาการ]])


* แยกคลองตัน
* แยกคลองตัน


===สถานศึกษา===
===สถานศึกษา===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:04, 4 พฤศจิกายน 2557


ถนนเพชรบุรี หรือชื่อเดิม ถนนประแจจีน เริ่มต้นตั้งแต่ ทางรถไฟที่แยกยมราชถึงแยกคลองตันติดกับถนนพัฒนาการ มีด้วยกัน 4 เขต คือเขตดุสิต เขตราชเทวี เขตห้วยขวาง และเขตสวนหลวง และถนนเพชรบุรีตัดใหม่ซึ่งเริ่มจากแยกประตูน้ำและสิ้นสุดไปที่แยกคลองตัน


สถานที่สำคัญ

ทางแยก

  • แยกยมราช
  • แยกอุรุพงษ์
  • แยกเพชรพระราม
  • แยกราชเทวี
  • แยกประตูน้ำ
  • แยกชิดลม - เพชรบุรี
  • แยกวิทยุ - เพชรบุรี
  • แยกมิตรสัมพันธ์
  • แยกอโศก - เพชรบุรี
  • แยกพร้อมพงษ์
  • แยกทองหล่อ - เพชรบุรี
  • แยกคลองตัน

สถานศึกษา

  • โรงเรียนอนุบาลอิ่มเอม
  • โรงเรียนกิ่งเพชร
  • โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
  • วิทยาลัยเทคนิคพณิชยการเจ้าพระยา
  • โรงเรียนสอนดนตรีสยาม เพชรเก้า
  • โรงเรียนเซ้นต์ดอมินิก
  • โรงเรียนมักกะสันพิทยา

ธนาคาร

  • ธนาคารธนชาต สาขาเพชรบุรี ซอย 20
  • ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาถนนเพชรบุรี
  • ธนาคารกสิกรไทย สาขากิ่งเพชร และ สาขาเพชรบุรี ซอย 17
  • ธนาคารออมสิน สาขาอุรุพงษ์
  • ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาประตูน้ำ

ห้างสรรพสินค้า

  • พันธุ์ทิพย์พลาซ่า
  • เดอะแพลทตินั่ม แฟชั่นมอลล์
  • ตลาดประตูน้ำ
  • ประตูน้ำเซ็นเตอร์

โรงพยาบาลและคลินิก

  • วุฒิศักดิ์คลินิก สาขา เพชรบุรี ซอย 15
  • โรงพยาบาลกรุงเทพ

อ้างอิง

ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ มีเหตุการณ์ระเบิดในปี พ.ศ. 2533