ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาเรล ชาเปก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
กาเรล ชาเปก เกิดที่หมู่บ้านแห่งหนึ่งใน[[โบฮีเมีย]] [[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]] (ปัจจุบันคือ [[สาธารณรัฐเช็ก]]) เมื่อ พ.ศ. 2433 เขาเป็นคนสุดท้องจากจำนวนพี่น้อง 3 คน สมัยยังเป็นวัยรุ่น ชาเปกสนใจวิชา[[ทัศนศิลป์]] โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวคิด[[คิวบิสม์]] เขาเข้าศึกษาระดับ[[มหาวิทยาลัย]]ที่[[มหาวิทยาลัยชาลส์]]ที่กรุงปราก และที่ซอร์บอนน์ใน[[ฝรั่งเศส]] ชาเปกไม่ได้ร่วมรบใน[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] เนื่องจากมีปัญหาที่กระดูกสันหลัง หลังสำเร็จการศึกษา เขาทำงานเป็น[[นักหนังสือพิมพ์]] และเริ่มเขียนหนังสือร่วมกับพี่ชาย โจเซฟ ชาเปก ในปี พ.ศ. 2463 ชาเปกได้ตีพิมพ์ ''R.U.R.'' (Rosumovi Univerzální Roboti) ซึ่งพูดถึงสภาพสังคมที่หุ่นยนต์ทำงานให้กับมนุษย์ จนกระทั่งหุ่นยนต์มีความรู้สึกนึกคิดและร่วมกันต่อต้านมนุษย์ ความสำคัญของบทละครนี้คือ ชาเปกใช้คำว่า robot (ที่คิดค้นโดยพี่ชาย<ref>[http://www.private-prague-guide.com/article/karel-capek-josef-capek/ The artistic genius of Karel and Josef Čapek]</ref>) เรียกหุ่นยนต์เป็นครั้งแรก (หุ่นยนต์ที่ชาเปกกล่าวถึงคือ [[แอนดรอยด์]]<ref>[ http://www.heureka.clara.net/art/karel-capek.htm Karel Capek]</ref>ในปัจจุบัน) ''R.U.R.'' ถูกแปลเป็นภาษาอังกฤษในอีก 2 ปีต่อมาในชื่อ Rossum’s Universal Robots และได้รับความนิยมจนแปลไปแล้วกว่า 30 ภาษาทั่วโลก<ref>[http://www.booksplendour.com.au/capek/rur.htm Čapek's R.U.R. by Voyen Koreis]</ref>
กาเรล ชาเปก เกิดที่หมู่บ้านแห่งหนึ่งใน[[โบฮีเมีย]] [[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]] (ปัจจุบันคือ [[สาธารณรัฐเช็ก]]) เมื่อ พ.ศ. 2433 เขาเป็นคนสุดท้องจากจำนวนพี่น้อง 3 คน สมัยยังเป็นวัยรุ่น ชาเปกสนใจวิชา[[ทัศนศิลป์]] โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวคิด[[คิวบิสม์]] เขาเข้าศึกษาระดับ[[มหาวิทยาลัย]]ที่[[มหาวิทยาลัยชาลส์]]ที่กรุงปราก และที่ซอร์บอนน์ใน[[ฝรั่งเศส]] ชาเปกไม่ได้ร่วมรบใน[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] เนื่องจากมีปัญหาที่กระดูกสันหลัง หลังสำเร็จการศึกษา เขาทำงานเป็น[[นักหนังสือพิมพ์]] และเริ่มเขียนหนังสือร่วมกับพี่ชาย โจเซฟ ชาเปก ในปี พ.ศ. 2463 ชาเปกได้ตีพิมพ์ ''R.U.R.'' (Rosumovi Univerzální Roboti) ซึ่งพูดถึงสภาพสังคมที่หุ่นยนต์ทำงานให้กับมนุษย์ จนกระทั่งหุ่นยนต์มีความรู้สึกนึกคิดและร่วมกันต่อต้านมนุษย์ ความสำคัญของบทละครนี้คือ ชาเปกใช้คำว่า robot (ที่คิดค้นโดยพี่ชาย<ref>[http://www.private-prague-guide.com/article/karel-capek-josef-capek/ The artistic genius of Karel and Josef Čapek]</ref>) เรียกหุ่นยนต์เป็นครั้งแรก (หุ่นยนต์ที่ชาเปกกล่าวถึงคือ [[แอนดรอยด์]]<ref>[ http://www.heureka.clara.net/art/karel-capek.htm Karel Capek]</ref>ในปัจจุบัน) ''R.U.R.'' ถูกแปลเป็นภาษาอังกฤษในอีก 2 ปีต่อมาในชื่อ Rossum’s Universal Robots และได้รับความนิยมจนแปลไปแล้วกว่า 30 ภาษาทั่วโลก<ref>[http://www.booksplendour.com.au/capek/rur.htm Čapek's R.U.R. by Voyen Koreis]</ref>


นอกจากแนววิทยาศาสตร์แล้ว ชาเปกยังเขียนบทความทางการเมืองอีกด้วย โดยเขามีความคิดต่อต้าน[[ระบอบนาซี]]และ[[ฟาสซิสต์]] เขาปฏิเสธที่จะลี้ภัยในช่วงที่เชโกสโลวาเกียกำลังจะถูก[[นาซีเยอรมนี|นาซี]]ยึด ด้วยปัญหาสุขภาพ ชาเปกเสียชีวิตที่[[ปราก]] เมื่อ พ.ศ. 2481 จากอาการ[[ปอดบวม]] รวมอายุได้ 48 ปี โจเซฟ ชาเปก พี่ชายของเขาเสียชีวิตในอีก 7 ปีต่อมา ที่[[ค่ายกักกันนาซี|ค่ายกักกัน]]เบอร์เกน-เบลเซน ทางตอนเหนือของ[[เยอรมนี]]
นอกจากแนววิทยาศาสตร์แล้ว ชาเปกยังเขียนบทความทางการเมืองอีกด้วย โดยเขามีแนวคิดต่อต้าน[[ระบอบนาซี]]และ[[ฟาสซิสต์]] เขาปฏิเสธที่จะลี้ภัยในช่วงที่เชโกสโลวาเกียกำลังจะถูก[[นาซีเยอรมนี|นาซี]]ยึด ด้วยปัญหาสุขภาพ ชาเปกเสียชีวิตที่[[ปราก]] เมื่อ พ.ศ. 2481 จากอาการ[[ปอดบวม]] รวมอายุได้ 48 ปี โจเซฟ ชาเปก พี่ชายของเขาเสียชีวิตในอีก 7 ปีต่อมา ที่[[ค่ายกักกันนาซี|ค่ายกักกัน]]เบอร์เกน-เบลเซน ทางตอนเหนือของ[[เยอรมนี]]


==ผลงาน==
==ผลงาน==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:23, 27 ตุลาคม 2557

กาเรล ชาเปก
เกิด9 มกราคม พ.ศ. 2433
มาเล สวาโตโยวิตเซ, โบฮีเมีย, จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
เสียชีวิต25 ธันวาคม พ.ศ. 2481
(อายุ 48 ปี)
ปราก, สาธารณรัฐเชโกสโลวัก
อาชีพนักเขียน
สัญชาติเช็ก
ช่วงเวลาพ.ศ. 2463-2481
คู่สมรสโอลกา ไชน์ฟูโกวา
(สมรส พ.ศ. 2478)

ลายมือชื่อ

กาเรล ชาเปก (อังกฤษ: Karel Čapek, ภาษาเช็ก: [ˈkarɛl ˈtʃapɛk] ( ฟังเสียง); 9 มกราคม พ.ศ. 243325 ธันวาคม พ.ศ. 2481) เป็นนักเขียนชาวเช็ก เขาเป็นผู้ริเริ่มใช้คำว่า robot[1] (หุ่นยนต์) เป็นครั้งแรก ซึ่งปรากฏอยู่ในบทละครเรื่อง R.U.R.

กาเรล ชาเปก เกิดที่หมู่บ้านแห่งหนึ่งในโบฮีเมีย จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันคือ สาธารณรัฐเช็ก) เมื่อ พ.ศ. 2433 เขาเป็นคนสุดท้องจากจำนวนพี่น้อง 3 คน สมัยยังเป็นวัยรุ่น ชาเปกสนใจวิชาทัศนศิลป์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวคิดคิวบิสม์ เขาเข้าศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่มหาวิทยาลัยชาลส์ที่กรุงปราก และที่ซอร์บอนน์ในฝรั่งเศส ชาเปกไม่ได้ร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 เนื่องจากมีปัญหาที่กระดูกสันหลัง หลังสำเร็จการศึกษา เขาทำงานเป็นนักหนังสือพิมพ์ และเริ่มเขียนหนังสือร่วมกับพี่ชาย โจเซฟ ชาเปก ในปี พ.ศ. 2463 ชาเปกได้ตีพิมพ์ R.U.R. (Rosumovi Univerzální Roboti) ซึ่งพูดถึงสภาพสังคมที่หุ่นยนต์ทำงานให้กับมนุษย์ จนกระทั่งหุ่นยนต์มีความรู้สึกนึกคิดและร่วมกันต่อต้านมนุษย์ ความสำคัญของบทละครนี้คือ ชาเปกใช้คำว่า robot (ที่คิดค้นโดยพี่ชาย[2]) เรียกหุ่นยนต์เป็นครั้งแรก (หุ่นยนต์ที่ชาเปกกล่าวถึงคือ แอนดรอยด์[3]ในปัจจุบัน) R.U.R. ถูกแปลเป็นภาษาอังกฤษในอีก 2 ปีต่อมาในชื่อ Rossum’s Universal Robots และได้รับความนิยมจนแปลไปแล้วกว่า 30 ภาษาทั่วโลก[4]

นอกจากแนววิทยาศาสตร์แล้ว ชาเปกยังเขียนบทความทางการเมืองอีกด้วย โดยเขามีแนวคิดต่อต้านระบอบนาซีและฟาสซิสต์ เขาปฏิเสธที่จะลี้ภัยในช่วงที่เชโกสโลวาเกียกำลังจะถูกนาซียึด ด้วยปัญหาสุขภาพ ชาเปกเสียชีวิตที่ปราก เมื่อ พ.ศ. 2481 จากอาการปอดบวม รวมอายุได้ 48 ปี โจเซฟ ชาเปก พี่ชายของเขาเสียชีวิตในอีก 7 ปีต่อมา ที่ค่ายกักกันเบอร์เกน-เบลเซน ทางตอนเหนือของเยอรมนี

ผลงาน

บทละคร

  • 1920 – R.U.R. (Rossumovi univerzální roboti; แปลไทยในชื่อ ห.ส.ร. หุ่นยนต์สากลราวี โดย ปราบดา หยุ่น[5])
  • 1921 – Pictures from the Insects' Life (Ze života hmyzu)
  • 1922 – The Makropulos Affair (Věc Makropulos)
  • 1927 – Adam the Creator (Adam stvořitel)
  • 1937 – The White Disease (Bílá nemoc)
  • 1938 – The Mother (Matka)

นวนิยาย

  • 1922 – The Absolute at Large (Továrna na absolutno)
  • 1922 – Krakatit
  • 1933 – Hordubal
  • 1934 – Meteor (Povětroň)
  • 1934 – An Ordinary Life (Obyčejný život)
  • 1936 – War with the Newts (Válka s mloky)
  • 1939 – Life and Work of the Composer Foltýn (Život a dílo skladatele Foltýna; ตีพิมพ์หลังเสียชีวิต)

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น