ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โบซอน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jitarpa sumpradit (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่เป็นสารานุกรม+เนื้อหาที่ควรเขียนในเรื่องนั้น ๆ โดยตรง
บรรทัด 16: บรรทัด 16:


โบซอนแบบอนุภาคประกอบ มีความสำคัญมากในการศึกษา[[ของไหลยิ่งยวด]] และการประยุกต์ใช้[[ของเหลวผลควบแน่นโบส-ไอน์สไตน์]]ชนิดอื่นๆ
โบซอนแบบอนุภาคประกอบ มีความสำคัญมากในการศึกษา[[ของไหลยิ่งยวด]] และการประยุกต์ใช้[[ของเหลวผลควบแน่นโบส-ไอน์สไตน์]]ชนิดอื่นๆ

== อนุภาคฮิกส์ ==
'''อนุภาคฮิกส์'''(อังกฤษ: Higgs particle) หรือ '''ฮิกส์โบซอน''' (อังกฤษ: Higgs boson) เป็นอนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่งตามแบบจำลองมาตรฐานในการศึกษาด้านฟิสิกส์อนุภาค จัดอยู่ในกลุ่มอนุภาคโบซอน นักวิทยาศาสตร์พยายามทำการทดลองเพื่อค้นหาการเกิดของอนุภาคนี้ ซึ่งเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 เซิร์นประกาศว่าได้ค้นพบอนุภาคที่คาดว่าจะเป็นอนุภาคฮิกส์ โดยมีความแม่นยำสูงถึง 99.9999 เปอร์เซ็นต์ อย่างไรก็ตาม จะมีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างละเอียดถี่ถ้วนเพื่อพิสูจน์ว่าอนุภาคที่ตรวจพบนี้เป็นอนุภาคฮิกส์จริง อนุภาคฮิกส์จัดอยู่ในกลุ่มอนุภาคโบซอน เนื่องจากมีค่าสปินเป็นเลขจำนวนเต็ม (เหมือนกับอนุภาคอื่น ๆ ในกลุ่มโบซอน) และตามทฤษฎีต้องใช้พลังงานมหาศาลในการตรวจจับอนุภาคชนิดนี้ ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการชนของอนุภาค อนุภาคฮิกส์เป็นอนุภาคมูลฐานเพียงชนิดเดียวที่ยังไม่เคยได้รับการค้นพบ แต่มีการทำนายว่ามีอยู่จริงตามแบบจำลองมาตรฐาน อย่างไรก็ตามเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 เซิร์นได้ค้นพบ "อนุภาคที่คล้ายอนุภาคฮิกส์" ซึ่งขณะนี้กำลังวิเคราะห์เพื่อยืนยันว่าเป็นอนุภาคฮิกส์จริง


==อนุภาคมูลฐานคืออะไร?==
อนุภาคมูลฐานคือสิ่งที่เป็นหน่อยที่เล็กที่สุดของสสาร ซึ่งจะไม่สามารถแยกย่อยได้อีกแล้ว แต่ก่อนเราเคยเชื่อว่าอะตอมเล็กที่สุด แต่ต่อมาก็พบว่าในอะตอมนั้นมี โปรตรอน นิวตรอน อิเล็กตรอน ซึ่งเราก็เชื่อว่าอนุภาคทั้ง 3 ชนิดนี้เล็กที่สุดแล้ว แต่ต่อมาก็พบว่าโปรตรอวสามารถแบ่งย่อยออกไปได้อีกคือ ควาร์ก นอกจากนี้ยังมีการค้นพบ อนุภาคมูลฐานอื่นๆ อีก เช่น '''นิวตริโน มิวออน เลปตรอน''' เป็นต้น ฮิกส์ก็เป็นอนุภาคมูลฐานด้วยเช่นกัน
เรามีแบบจำลองมาตราฐานของอนุภาค ซึ่งเป็นเหมือนรูปแบบดีเอ็นเอของทุกสิ่งทุกอย่างที่ประกอบขึ้นเป็นเราและเอกภพ ในแบบจำลองมาตราฐานเรามีอนุภาคมูลฐานที่ประกอบเป็นสสาร12ชนิด
(เป็นควาร์ก 6 ชนิด เลปตรอน 6ชนิด ซึ่งจะประกอบกันเป็นโปรตรอนและนิวตรอน ซึ่งจะเป็นนิวเคลียสของอะตอม) และมีอนุภาคมูลฐานเป็นสื่อของแรงพื้นฐานในธรรมชาติ4 ชนิด
กลูออนเป็นแรงยึดเหนี่ยวควาร์กให้เกิดเป็นโปรตรอนและนิวตรอน
โฟตอนเป็นสื่อของแม่เหล็กไฟฟ้า ทำหอิเล็กตรอนวิ่งบนนิวเคลียส
WและZ โบซอนเป็นสื่อของแรงที่เกี่ยวข้องกับการเกิดกัมมันตภาพรังสี
แต่สิ่งเหล่านี้ยังไม่เพียงพอที่จะอธิบายเหตุผลต่างๆ ทั้งหมดคือเราไม่สามารถหาเหตุผลได้ว่าอนุภาคมูลฐานมีมวลได้อย่างไร จึงคาดกันว่า น่าจะมีอนุภาคอื่นอีกอย่างหนึ่ง(ซึ่งก็คือฮิกส์) อยู่เบื้องหลังอนุภาคเหล่านี้

==ทำไมฮิกส์ถึงได้ชื่อว่าเป็น (อนุภาคพระเจ้า?)==
เนื่องจากเชื่อกันว่าฮิกส์ คือเหตุผลที่ทำให้อนุภาคมูลฐานต่างๆ มีมวล มันจึงถูกเรียกว่า '''อนุภาคพระเจ้า'''
ก็เพราะว่าถ้าอนุภาคมูลฐานต่างๆไม่มีมวลเลย มันก็จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วแสงตลอดเวลา และไม่มีวันจับตัวกันเป็นอะตอนได้เมื่ออะตอมไม่อาจเกิดขึ้นได้ เอกภพก็เต็มไปด้วยอนุภาคมูลฐานที่วิ่งไปวิ่งมาด้วยความเร็วแสงไม่มีอะไรเกิดขึ้นมาได้เลย รวมถึงตัวเราด้วย




== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:28, 17 ตุลาคม 2557

ในฟิสิกส์เชิงอนุภาค, โบซอน (อังกฤษ: boson) หมายถึง อนุภาคที่เป็นไปตาม สถิติแบบโบส-ไอน์สไตน์ มีสปินเป็นจำนวนเต็ม สามารถมีโบซอนหลายๆ ตัวอยู่ในสถานะควอนตัมเดียวกันได้ คำว่า "โบซอน" มาจากชื่อของนักวิทยาศาสตร์ชาวอินเดีย คือ สัตเยนทรานาถ โบส[1]

โบซอนมีลักษณะตรงกันข้ามกับเฟอร์มิออน ที่เป็นไปตาม สถิติแบบเฟอร์มี-ดิแรก เฟอร์มิออนตั้งแต่สองตัวหรือมากกว่านั้นจะไม่สามารถอยู่ในสถานะควอนตัมเดียวกันได้

โบซอนเป็นได้ทั้งอนุภาคมูลฐาน เช่น โฟตอน หรือเป็นอนุภาคประกอบ เช่น มีซอน โดยโบซอนส่วนมากจะเป็นอนุภาคแบบประกอบ โดยตาม "แบบจำลองมาตรฐานของฟิสิกส์เชิงอนุภาค" มีโบซอน 6 ชนิดที่เป็นอนุภาคมูลฐาน คือ

ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 องค์การวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป (CERN) ประกาศการค้นพบโบซอนชนิดใหม่ซึ่งเรียกได้ว่าเป็น "อนุภาคที่สอดคล้องกับอนุภาคฮิกส์" มากที่สุด โดยทางเซิร์นจะทำการตรวจสอบต่อไป[2][3]

โบซอนแบบอนุภาคประกอบ มีความสำคัญมากในการศึกษาของไหลยิ่งยวด และการประยุกต์ใช้ของเหลวผลควบแน่นโบส-ไอน์สไตน์ชนิดอื่นๆ

อ้างอิง

  1. "boson (dictionary entry)". Merriam-Webster's Online Dictionary. สืบค้นเมื่อ 2010-03-21.
  2. http://indico.cern.ch/conferenceDisplay.py?confId=196564
  3. http://press.web.cern.ch/press/PressReleases/Releases2012/PR16.12E.html