ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิฉงเจิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
เรืองอำนาจเกินจนถึงกับต้องโดนไล่แสดงว่าสำคัญ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Ming Chongzhen.jpg|thumb|จักรพรรดิฉงเจิน]]
[[ไฟล์:Ming Chongzhen.jpg|thumb|จักรพรรดิฉงเจิน]]
'''จักรพรรดิฉงเจิน''' ([[6 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1610]]-[[25 เมษายน]] [[ค.ศ. 1644]]) จักรพรรดิองค์ที่ 17 และองค์สุดท้ายแห่ง[[ราชวงศ์หมิง]] เป็นพระราชโอรสใน[[จักรพรรดิไท่ชาง]] และเป็นพระราชอนุชาใน[[จักรพรรดิเทียนฉี]] เมื่อพระเชษฐาสวรรคตในปี ค.ศ. 1627 พระองค์จึงขึ้นครองราชย์สืบต่อมา
'''จักรพรรดิฉงเจิน''' ([[6 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1610]]-[[25 เมษายน]] [[ค.ศ. 1644]]) จักรพรรดิองค์ที่ 17 และองค์สุดท้ายแห่ง[[ราชวงศ์หมิง]] เป็นพระราชโอรสใน[[จักรพรรดิไท่ชาง]] และเป็นพระราชอนุชาใน[[จักรพรรดิเทียนฉี]] เมื่อพระเชษฐาสวรรคตในปี ค.ศ. 1627 พระองค์จึงขึ้นครองราชย์สืบต่อมา
จักรพรรดิฉงเจินทรงมุ่งมั่นที่จะกอบกู้สถานการณ์ระส่ำระสายยุ่งเหยิงที่เกิดขึ้นในราชสำนักจากความขัดแย้งระหว่างขันทีกับขุนนางราชสำนัก ทรงขับไล่ขันทีเว่ยจงเสียนที่กำลังเรืองอำนาจยิ่งออกจากตำแหน่ง และทรงเริ่มลดทอนอิทธิพลของขันที ทรงแต่งตั้งแม่ทัพนายกองที่มีความสามารถกลับสู่ตำแหน่งเดิม โดยเฉพาะกรณีแม่ทัพ[[หยวนชงหวน]] ที่มีชัยชนะต่อกองทัพแมนจูมาก่อนหน้า
จักรพรรดิฉงเจินทรงมุ่งมั่นที่จะกอบกู้สถานการณ์ระส่ำระสายยุ่งเหยิงที่เกิดขึ้นในราชสำนักจากความขัดแย้งระหว่างขันทีกับขุนนางราชสำนัก ทรงขับไล่[[ขันที]][[เว่ยจงเสียน]]ที่กำลังเรืองอำนาจยิ่งออกจากตำแหน่ง และทรงเริ่มลดทอนอิทธิพลของขันที ทรงแต่งตั้งแม่ทัพนายกองที่มีความสามารถกลับสู่ตำแหน่งเดิม โดยเฉพาะกรณีแม่ทัพ[[หยวนชงหวน]] ที่มีชัยชนะต่อกองทัพแมนจูมาก่อนหน้า
อย่างไรก็ตาม จีนต้องประสบภาวะภัยธรรมชาติครั้งใหญ่ในช่วงเวลาดังกล่าว ผู้คนล้มตายเป็นจำนวนมาก ความไม่พอใจของประชาชนแผ่ขยายอย่างกว้างขวางรวดเร็ว ราชสำนักไม่อาจแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ ขุนนางในหัวเมืองฉ้อฉล ขูดรีดทรัพย์สิน กลั่นแกล้งประชาชนอย่างต่อเนื่อง กระทั่งในปี ค.ศ. 1644 [[หลี่จื้อเฉิง]] อดีตนายทหารผู้น้อย เริ่มรวบรวมสมัครพรรคพวกก่อการต่อต้านราชสำนักขึ้นจนสามารถยึดเมือง[[ซีอาน]]ได้ ตั้งตนเป็นจักรพรรดิแห่ง[[ราชวงศ์ซุ่น]] กองกำลังหลี่จื้อเฉิงเคลื่อนทัพไปปิดล้อมปักกิ่งได้อย่างรวดเร็วโดยที่กองทหารของราชสำนักไม่อาจต้านทานได้เลย หลี่จื้อเฉิงยื่นคำขาดให้จักรพรรดิฉงเจินยอมจำนน บรรดาขุนนางและแม่ทัพนายกองส่วนมากยอมแพ้หรือไม่ก็หลบหนีออกจากเมืองหลวงไปก่อนหน้านั้น ในที่สุดขันทีผู้หนึ่งได้ลอบเปิดประตูเมืองให้กองทัพของหลี่จื้อเฉิงเข้าสู่เมืองหลวงได้ จักรพรรดิฉงเจินเสด็จหนีขึ้นไปยังเขาเจียงซาน ด้านเหนือของพระราชวังหลวง และผูกพระศอองค์เองกับต้นไม้ สวรรคตขณะมีพระชนมายุสามสิบสี่ชันษา
อย่างไรก็ตาม จีนต้องประสบภาวะภัยธรรมชาติครั้งใหญ่ในช่วงเวลาดังกล่าว ผู้คนล้มตายเป็นจำนวนมาก ความไม่พอใจของประชาชนแผ่ขยายอย่างกว้างขวางรวดเร็ว ราชสำนักไม่อาจแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ ขุนนางในหัวเมืองฉ้อฉล ขูดรีดทรัพย์สิน กลั่นแกล้งประชาชนอย่างต่อเนื่อง กระทั่งในปี ค.ศ. 1644 [[หลี่จื้อเฉิง]] อดีตนายทหารผู้น้อย เริ่มรวบรวมสมัครพรรคพวกก่อการต่อต้านราชสำนักขึ้นจนสามารถยึดเมือง[[ซีอาน]]ได้ ตั้งตนเป็นจักรพรรดิแห่ง[[ราชวงศ์ซุ่น]] กองกำลังหลี่จื้อเฉิงเคลื่อนทัพไปปิดล้อมปักกิ่งได้อย่างรวดเร็วโดยที่กองทหารของราชสำนักไม่อาจต้านทานได้เลย หลี่จื้อเฉิงยื่นคำขาดให้จักรพรรดิฉงเจินยอมจำนน บรรดาขุนนางและแม่ทัพนายกองส่วนมากยอมแพ้หรือไม่ก็หลบหนีออกจากเมืองหลวงไปก่อนหน้านั้น ในที่สุดขันทีผู้หนึ่งได้ลอบเปิดประตูเมืองให้กองทัพของหลี่จื้อเฉิงเข้าสู่เมืองหลวงได้ จักรพรรดิฉงเจินเสด็จหนีขึ้นไปยังเขาเจียงซาน ด้านเหนือของพระราชวังหลวง และผูกพระศอองค์เองกับต้นไม้ สวรรคตขณะมีพระชนมายุสามสิบสี่ชันษา
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:33, 12 ตุลาคม 2557

ไฟล์:Ming Chongzhen.jpg
จักรพรรดิฉงเจิน

จักรพรรดิฉงเจิน (6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1610-25 เมษายน ค.ศ. 1644) จักรพรรดิองค์ที่ 17 และองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์หมิง เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิไท่ชาง และเป็นพระราชอนุชาในจักรพรรดิเทียนฉี เมื่อพระเชษฐาสวรรคตในปี ค.ศ. 1627 พระองค์จึงขึ้นครองราชย์สืบต่อมา จักรพรรดิฉงเจินทรงมุ่งมั่นที่จะกอบกู้สถานการณ์ระส่ำระสายยุ่งเหยิงที่เกิดขึ้นในราชสำนักจากความขัดแย้งระหว่างขันทีกับขุนนางราชสำนัก ทรงขับไล่ขันทีเว่ยจงเสียนที่กำลังเรืองอำนาจยิ่งออกจากตำแหน่ง และทรงเริ่มลดทอนอิทธิพลของขันที ทรงแต่งตั้งแม่ทัพนายกองที่มีความสามารถกลับสู่ตำแหน่งเดิม โดยเฉพาะกรณีแม่ทัพหยวนชงหวน ที่มีชัยชนะต่อกองทัพแมนจูมาก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม จีนต้องประสบภาวะภัยธรรมชาติครั้งใหญ่ในช่วงเวลาดังกล่าว ผู้คนล้มตายเป็นจำนวนมาก ความไม่พอใจของประชาชนแผ่ขยายอย่างกว้างขวางรวดเร็ว ราชสำนักไม่อาจแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ ขุนนางในหัวเมืองฉ้อฉล ขูดรีดทรัพย์สิน กลั่นแกล้งประชาชนอย่างต่อเนื่อง กระทั่งในปี ค.ศ. 1644 หลี่จื้อเฉิง อดีตนายทหารผู้น้อย เริ่มรวบรวมสมัครพรรคพวกก่อการต่อต้านราชสำนักขึ้นจนสามารถยึดเมืองซีอานได้ ตั้งตนเป็นจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ซุ่น กองกำลังหลี่จื้อเฉิงเคลื่อนทัพไปปิดล้อมปักกิ่งได้อย่างรวดเร็วโดยที่กองทหารของราชสำนักไม่อาจต้านทานได้เลย หลี่จื้อเฉิงยื่นคำขาดให้จักรพรรดิฉงเจินยอมจำนน บรรดาขุนนางและแม่ทัพนายกองส่วนมากยอมแพ้หรือไม่ก็หลบหนีออกจากเมืองหลวงไปก่อนหน้านั้น ในที่สุดขันทีผู้หนึ่งได้ลอบเปิดประตูเมืองให้กองทัพของหลี่จื้อเฉิงเข้าสู่เมืองหลวงได้ จักรพรรดิฉงเจินเสด็จหนีขึ้นไปยังเขาเจียงซาน ด้านเหนือของพระราชวังหลวง และผูกพระศอองค์เองกับต้นไม้ สวรรคตขณะมีพระชนมายุสามสิบสี่ชันษา

อ้างอิง

Wu Luxing. 100 จักรพรรดิจีนที่โลกไม่ลืม แปลโดย ปรียานุช ปาริ. กรุงเทพฯ:ดอกหญ้า,2541.


ก่อนหน้า จักรพรรดิฉงเจิน ถัดไป
จักรพรรดิเทียนฉี จักรพรรดิจีน
(พ.ศ. 2163 - พ.ศ. 2170)
จักรพรรดิซุ่นจื้อ (ราชวงศ์ชิง)|}