ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟุตบอลโลกหญิง 2015"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 132: บรรทัด 132:


== รอบแบ่งกลุ่ม ==
== รอบแบ่งกลุ่ม ==
===Group A===
=== กลุ่มเอ ===
{{บทความหลัก|2015 FIFA Women's World Cup Group A}}
{{บทความหลัก|2015 FIFA Women's World Cup Group A}}


บรรทัด 226: บรรทัด 226:
}}
}}


===Group B===
=== กลุ่มบี ===
{{บทความหลัก|2015 FIFA Women's World Cup Group B}}
{{บทความหลัก|2015 FIFA Women's World Cup Group B}}


บรรทัด 320: บรรทัด 320:
}}
}}


===Group C===
=== กลุ่มซี ===
{{บทความหลัก|2015 FIFA Women's World Cup Group C}}
{{บทความหลัก|2015 FIFA Women's World Cup Group C}}


บรรทัด 414: บรรทัด 414:
}}
}}


===Group D===
=== กลุ่มดี ===
{{บทความหลัก|2015 FIFA Women's World Cup Group D}}
{{บทความหลัก|2015 FIFA Women's World Cup Group D}}


บรรทัด 508: บรรทัด 508:
}}
}}


===Group E===
=== กลุ่มดี ===
{{บทความหลัก|2015 FIFA Women's World Cup Group E}}
{{บทความหลัก|2015 FIFA Women's World Cup Group E}}


บรรทัด 602: บรรทัด 602:
}}
}}


=== กลุ่มเอฟ ===
===Group F===
{{บทความหลัก|2015 FIFA Women's World Cup Group F}}
{{บทความหลัก|2015 FIFA Women's World Cup Group F}}


บรรทัด 972: บรรทัด 972:
| referee=
| referee=
}}
}}
== การตลาด ==
=== สัญลักษณ์ ===
{{โครง-ส่วน}}

=== โปสเตอร์ ===
{{โครง-ส่วน}}

=== ตุ๊กตาสัญลักษณ์ ===
{{บทความหลัก|นกเค้าแมวหิมะ}}

=== ลูกฟุตบอล ===
{{บทความหลัก|}}

=== กาชีรอลา ===
{{บทความหลัก|กาชีรอลา}}

=== สิทธิการออกอากาศ ===
{{โครง-ส่วน}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:16, 11 ตุลาคม 2557

ฟุตบอลโลกหญิง 2015
ตราสัญลักษณ์ฟุตบอลโลกหญิง 2015 อย่างเป็นทางการ
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพแคนาดา
วันที่มิถุนายน – กรกฎาคม ค.ศ. 2015
ทีม24 (จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 6 เมืองเจ้าภาพ)

ฟุตบอลโลกหญิง 2015 (อังกฤษ: 2015 FIFA Women's World Cup) เป็นฟุตบอลโลกหญิงครั้งที่เจ็ด ซึ่งเป็นการแข่งขันชิงแชมป์ฟุตบอลหญิงนานาชาติ ซึ่งในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2011 แคนาดาได้รับสิทธิ์เป็นเจ้าภาพ โดยการแข่งขันจะจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 6 มิถุนายน ถึงวันที่ 5 กรกฎาคม [1]

การคัดเลือกเจ้าภาพ

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง รวมถึงสิทธิการเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี ของปีที่ผ่านมา (คล้ายกับในประเภทชาย ที่มีเจ้าภาพคอนเฟเดอเรชันส์คัพในปีก่อน) ซึ่งการเสนอตัวของผู้ประสงค์เป็นเจ้าภาพจะส่งมาในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2010 โดยมีเพียงสองประเทศเท่านั้นที่ได้รับการส่งมา อันได้แก่:[2]

โดยประเทศซิมบับเวได้ถอนตัวออกในวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 2011 [3] ซึ่งเป็นประเทศที่ได้รับการจับตามองอย่างยาวนาน โดยทีมหญิงของประเทศดังกล่าวอยู่ในอันดับที่ 103 ของโลกในช่วงที่มีการเสนอตัว และยังไม่ผ่านการคัดเลือกเข้าสู่การแข่งขันฟุตบอลโลกหญิงแต่อย่างใด นอกจากนี้ยังมีความไม่แน่นอนทางการเมืองและเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ภายใต้การปกครองของโรเบิร์ต มูกาเบ[4]

การคัดเลือก

สำหรับการแข่งขันรายการนี้ จำนวนของทีมจะขยายจาก 16 ทีม ไปเป็น 24 ทีม โดยมีจำนวนของการแข่งขันเพิ่มขึ้นจาก 32 คู่ ไปเป็น 52 คู่[5] เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 2012 ทางฟีฟ่าได้ประกาศให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดสรรการคัดเลือกตำแหน่งของสหพันธ์ภาคพื้นทวีป คณะกรรมการบริหารฟีฟ่าได้อนุมัติการจัดสรรตาราง และแบ่งสายของแปดทีมใหม่ดังต่อไปนี้:[6]

  • เอเอฟซี (เอเชีย): 5 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 3)
  • ซีเอเอฟ (แอฟริกา): 3 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 2)
  • คอนคาแคฟ (อเมริกาเหนือ/กลาง, แคริบเบียน): 3.5+เจ้าภาพ 1 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 2.5)
  • คอนเมบอล (อเมริกาใต้): 2.5 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 2)
  • โอเอฟซี (โอเชียเนีย): 1 ประเทศ (เช่นเดียวกับ ค.ศ. 2011)
  • ยูฟ่า (ยุโรป): 8 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 4.5+1)

หลังจากที่นักฟุตบอลเกาหลีเหนือหลายรายถูกตรวจพบสารกระตุ้นในช่วงการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง 2011 ทางฟีฟ่าจึงได้ห้ามเกาหลีเหนือได้มีส่วนร่วมในฟุตบอลโลกหญิง 2015 ที่ประเทศแคนาดา ซึ่งนี่เป็นการลงโทษครั้งแรกที่เกิดขึ้นในฟุตบอลโลกหญิง และเป็นครั้งแรกนับจากปี ค.ศ. 1995 ที่ทีมเกาหลีเหนือไม่ได้เข้าร่วมในฟุตบอลโลกหญิง[7]

ทีมที่ผ่านการรับรอง

ทีม ลำดับที่ได้
รับการคัดเลือก
วิธีที่ผ่าน
การคัดเลือก
วันที่ได้
รับการคัดเลือก
สมัยที่ได้แข่ง
ฟุตบอลโลกหญิง
ปรากฏตัว
ครั้งล่าสุด
ผลการแข่งที่ดีที่สุด
ครั้งที่ผ่านมา
อันดับโลกฟีฟ่า
ขณะเริ่มการแข่ง
ธงชาติแคนาดา แคนาดา 1 เจ้าภาพ 3 มีนาคม ค.ศ. 2011 ครั้งที่ 6 ค.ศ. 2011 อันดับสี่ (2003)
ธงชาติจีน จีน 2 ห้าอันดับแรกฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 17 พฤษภาคม ค.ศ. 2014 ครั้งที่ 6 ค.ศ. 2007 รองชนะเลิศ (ค.ศ. 1999)
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 ห้าอันดับแรกฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 17 พฤษภาคม ค.ศ. 2014 ครั้งที่ 2 ค.ศ. 2003 รอบแบ่งกลุ่ม (ค.ศ. 2003)
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 4 ห้าอันดับแรกฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 18 พฤษภาคม ค.ศ. 2014 ครั้งที่ 7 ค.ศ. 2011 ผู้ชนะ (ค.ศ. 2011)
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 5 ห้าอันดับแรกฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 18 พฤษภาคม ค.ศ. 2014 ครั้งที่ 6 ค.ศ. 2011 รอบก่อนรอง (ค.ศ. 2007)
ธงชาติไทย ไทย 6 ห้าอันดับแรกฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 21 พฤษภาคม ค.ศ. 2014 ครั้งที่ 1 เปิดตัวครั้งแรก
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 7 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 3 15 มิถุนายน ค.ศ. 2014 ครั้งที่ 1 เปิดตัวครั้งแรก
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ 8 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 6 21 สิงหาคม 2014 ครั้งที่ 4 ค.ศ. 2011 รอบก่อนรองชนะเลิศ (1995, 2007, 2011)
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ 9 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 5 13 กันยายน 2014 ครั้งที่ 7 ค.ศ. 2011 ผู้ชนะเลิศ (1995)
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 10 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 1 13 กันยายน 2014 ครั้งที่ 7 ค.ศ. 2011 ผู้ชนะเลิศ (2003, 2007)
ธงชาติสเปน สเปน 11 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 2 13 กันยายน 2014 ครั้งที่ 1 เปิดตัวครั้งแรก
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 12 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 7 13 กันยายน 2014 ครั้งที่ 3 ค.ศ. 2011 (ค.ศ. 2011)
ธงชาติสวีเดน สวีเดน 13 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 4 17 กันยายน 2014 ครั้งที่ 7 ค.ศ. 2011 รองชนะเลิศ (2003)
ธงชาติบราซิล บราซิล 15 โคปา อเมริกา 26 กันยายน 2014 ครั้งที่ 7 ค.ศ. 2011 รองชนะเลิศ (ค.ศ. 2007)
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 15 โคปา อเมริกา 28 กันยายน 2014 ครั้งที่ 2 ค.ศ. 2011 รอบคัดเลือก (ค.ศ. 2011)

สถานที่จัดงาน

เมืองแวนคูเวอร์, เอ็ดมอนตัน, วินนิเพก, ออตตาวา, มอนทรีออล และ มองก์ตัน ต่างได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันทัวร์นาเมนท์[8] ส่วนเมืองแฮลิแฟกซ์ ก็ได้รับการกล่าวถึงเช่นกัน แต่ได้ถอนตัวออกจากรายการแข่งขันในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2012 [9] ส่วนเมืองโทรอนโตได้รับการคาดหวังว่าจะเป็นเมืองเจ้าภาพจัดการแข่งขันรอบไฟนอลหากการเสนอชื่อประสบความสำเร็จ แต่ในท้ายที่สุดก็ได้มีการถอดถอนออกจากการเสนอชื่อ เนื่องจากความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นกับแพนอเมริกันเกมส์ 2015 [10] เนื่องด้วยนโยบายของฟีฟ่ากับการให้การสนับสนุนเชิงพาณิชย์ ทั้งนี้ สนามฟุตบอลอินเวสเตอร์กรุ๊ปฟิลด์ในวินนิเพกจะเป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในการแข่งขัน

ก่อนหน้านี้ ประเทศแคนาดาได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันของฟีฟ่า อันประกอบด้วย ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 1987, ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี 2002 และ ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2007 ซึ่งได้รับการบันทึกรายการแข่งขัน

เอ็ดมอนตัน มอนทรีออล แวนคูเวอร์
สนามกีฬาเครือจักรภพ สนามกีฬาโอลิมปิก บีซีเพลซ
ความจุ: 60,081 ความจุ: 66,308 ความจุ: 54,500
วินนิเพก ออตตาวา มองก์ตัน
อินเวสเตอร์กรุ๊ปฟิลด์ สนามกีฬาแฟรงก์ แคลร์ สนามกีฬามองก์ตัน
ความจุ: 33,422 (ขยายได้ถึง 40,000) ความจุ: 26,559 (ขยายได้ถึง 45,000) ความจุ: 10,000 (ขยายได้ถึง 20,725 +)

รอบแบ่งกลุ่ม

กลุ่มเอ

ทีม เล่น
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ต่าง
คะแนน
ธงชาติแคนาดา แคนาดา 0 0 0 0 0 0 0 0
A2 0 0 0 0 0 0 0 0
A3 0 0 0 0 0 0 0 0
A4 0 0 0 0 0 0 0 0
แคนาดา ธงชาติแคนาดาMatch 1A2

A3Match 2A4

แคนาดา ธงชาติแคนาดาMatch 13A3

A2Match 14A4

A4Match 25ธงชาติแคนาดา แคนาดา

A2Match 26A3

กลุ่มบี

ทีม เล่น
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ต่าง
คะแนน
B1 0 0 0 0 0 0 0 0
B2 0 0 0 0 0 0 0 0
B3 0 0 0 0 0 0 0 0
B4 0 0 0 0 0 0 0 0
B1Match 3B2

B3Match 4B4

B1Match 15B3

B2Match 16B4

B4Match 27B1

B2Match 28B3

กลุ่มซี

ทีม เล่น
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ต่าง
คะแนน
C1 0 0 0 0 0 0 0 0
C2 0 0 0 0 0 0 0 0
C3 0 0 0 0 0 0 0 0
C4 0 0 0 0 0 0 0 0
C1Match 5C2

C3Match 6C4

C1Match 17C3

C2Match 18C4

C4Match 29C1

C2Match 30C3

กลุ่มดี

ทีม เล่น
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ต่าง
คะแนน
D1 0 0 0 0 0 0 0 0
D2 0 0 0 0 0 0 0 0
D3 0 0 0 0 0 0 0 0
D4 0 0 0 0 0 0 0 0
D1Match 7D2

D3Match 8D4

D1Match 19D3

D2Match 20D4

D4Match 31D1

D2Match 32D3

กลุ่มดี

ทีม เล่น
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ต่าง
คะแนน
E1 0 0 0 0 0 0 0 0
E2 0 0 0 0 0 0 0 0
E3 0 0 0 0 0 0 0 0
E4 0 0 0 0 0 0 0 0
E1Match 9E2

E3Match 10E4

E1Match 21E3

E2Match 22E4

E4Match 33E1

E2Match 34E3

กลุ่มเอฟ

ทีม เล่น
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ต่าง
คะแนน
F1 0 0 0 0 0 0 0 0
F2 0 0 0 0 0 0 0 0
F3 0 0 0 0 0 0 0 0
F4 0 0 0 0 0 0 0 0
F1Match 11F2

F3Match 12F4

F1Match 23F3

F2Match 24F4

F4Match 35F1

F2Match 36F3

ตารางคะแนนของทีมอันดับที่ 3

ทีมที่มีคะแนนดีที่สุดจากอันดับที่ 3 ของแต่ละกลุ่มจะเข้ารอบ 16 ทีมสุดท้าย ตามตารางการแข่งขันที่ได้จับสลากแบ่งสาย:[11]

  1. points obtained in all group matches;
  2. goal difference in all group matches;
  3. number of goals scored in all group matches;
  4. drawing of lots by the FIFA Organising Committee.
Group
ทีม เล่น
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ต่าง
คะแนน
A A3 0 0 0 0 0 0 0 0
B B3 0 0 0 0 0 0 0 0
C C3 0 0 0 0 0 0 0 0
D D3 0 0 0 0 0 0 0 0
E E3 0 0 0 0 0 0 0 0
F F3 0 0 0 0 0 0 0 0

Those teams which advance will be placed with the winners of groups A, B, C, and D according to a table published in Section 28 of the tournament regulations.[11]

รอบสุดท้าย

รอบ 16 ทีม รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                           
20 June – Edmonton            
 Runner-up Group A  
26 June – Ottawa
 Runner-up Group C    
 Winner Match 37  
22 June – Edmonton
   Winner Match 38    
 Winner Group D  
30 June – Montreal
 3rd Group B / E / F    
 Winner Match 45  
20 June – Ottawa
   Winner Match 46    
 Winner Group B  
26 June – Montreal
 3rd Group A / C / D    
 Winner Match 39  
21 June – Montreal
   Winner Match 40    
 Winner Group F  
5 July – Vancouver
 Runner-up Group E    
 Winner Match 49  
21 June – Moncton
   Winner Match 50  
 Winner Group E  
27 June – Edmonton
 Runner-up Group D    
 Winner Match 41  
23 June – Vancouver
   Winner Match 42    
 Winner Group C  
1 July – Edmonton
 3rd Group A / B / F    
 Winner Match 47  
22 June – Ottawa
   Winner Match 48     อันดับที่ 3
 Runner-up Group B  
27 June – Vancouver 4 July – Edmonton
 Runner-up Group F    
 Winner Match 43    Loser Match 49  
21 June – Vancouver
   Winner Match 44      Loser Match 50  
 Winner Group A  
 3rd Group C / D / E    

รอบ 16 ทีมสุดท้าย

Runner-up Group AMatch 37Runner-up Group C

Winner Group BMatch 393rd Group A / C / D

Winner Group FMatch 40Runner-up Group E

Winner Group EMatch 41Runner-up Group D

Winner Group AMatch 443rd Group C / D / E

Winner Group DMatch 383rd Group B / E / F

Runner-up Group BMatch 43Runner-up Group F

Winner Group CMatch 423rd Group A / B / F

รอบก่อนรองชนะเลิศ

Winner Match 37Match 45Winner Match 38

Winner Match 39Match 46Winner Match 40

Winner Match 41Match 47Winner Match 42

Winner Match 43Match 48Winner Match 44

รอบรองชนะเลิศ

Winner Match 45Match 49Winner Match 46

Winner Match 47Match 50Winner Match 48

นัดชิงอันดับที่ 3

Loser Match 49Match 51Loser Match 50

นัดชิงชนะเลิศ

Winner Match 49Match 52Winner Match 50

การตลาด

สัญลักษณ์

โปสเตอร์

ตุ๊กตาสัญลักษณ์

ลูกฟุตบอล

ข้อผิดพลาด: ไม่ได้ระบุชื่อหน้า (ช่วยเหลือ)

กาชีรอลา

สิทธิการออกอากาศ

อ้างอิง

  1. "FIFA Calendar". FIFA. สืบค้นเมื่อ 21 February 2013.
  2. "Remarkable interest in hosting FIFA competitions". FIFA. 17 January 2011. สืบค้นเมื่อ 21 July 2011.
  3. "Zimbabwe withdraws bid to host 2015 Women's World Cup". BBC. สืบค้นเมื่อ 22 February 2012.
  4. 2015: The case for Canada
  5. MacKinnon, John (1 December 2010). "The party's over ... what's next?". Edmonton Journal. สืบค้นเมื่อ 1 December 2010.
  6. "Qualification slots for Canada 2015 confirmed". FIFA.com. 11 June 2012.
  7. "FIFA Disciplinary Committee decisions for Germany 2011". 25 August 2011. สืบค้นเมื่อ 12 June 2013.
  8. Bekanntgabe der Spielorte der FIFA Frauen-WM Kanada 2015 (เยอรมัน)
  9. No Halifax stadium for soccer World Cup
  10. "http://www.cbc.ca/m/rich/news/story/2012/05/04/sp-soccer-women-world-cup-2015-canada-sites.html". CBC.ca. 05 May 2012. สืบค้นเมื่อ 2012-05-04. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help); แหล่งข้อมูลอื่นใน |title= (help)
  11. 11.0 11.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ regulations

แหล่งข้อมูลอื่น