ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชูเช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Vee (คุย | ส่วนร่วม)
แปลเพิ่ม
Vee (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ต้นตอ: แปลเพิ่ม
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
''จูเช'' เป็นคำ[[ศัพท์จีน-เกาหลี]]ที่ยากจะแปล ตามตัวอักษรมันหมายถึง "อัตวิสัย" หรือ "ตัวแทน" และในวาทกรรมทางการเมืองมีความหมายโดยนัยของ "การพึ่งพาตัวเอง" และ "ความเป็นอิสระ"{{sfn|Cumings|1997|pp=207,403-404}}{{sfn|Abt|2014|pp=73-74}} การอ้างอิงแรกที่เป็นที่รู้จักของจูเชในฐานะอุดมการของเกาหลีเหนือคือคำปราศรัยกล่าวโดย[[คิม อิล-ซ็อง]]เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม คริสศักราช 1955 หัวข้อว่า "บนการกำจัดลัทธิและความเป็นพิธีและการสถาปนา "จูเช" ในงานทางอุดมการณ์" ถูกตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนการกวาดล้างทางการเมืองซึ่งคล้ายกับ[[ขบวนการสัตยาบันหยานอัน]]ที่มามาก่อนในจีน<ref>{{cite journal |journal=Journal of Asiatic Studies |volume=13 |author=高麗大學校亞細亞問題硏究所 |year=1970 |page=63 |issue=3–4}}</ref>
''จูเช'' เป็นคำ[[ศัพท์จีน-เกาหลี]]ที่ยากจะแปล ตามตัวอักษรมันหมายถึง "อัตวิสัย" หรือ "ตัวแทน" และในวาทกรรมทางการเมืองมีความหมายโดยนัยของ "การพึ่งพาตัวเอง" และ "ความเป็นอิสระ"{{sfn|Cumings|1997|pp=207,403-404}}{{sfn|Abt|2014|pp=73-74}} การอ้างอิงแรกที่เป็นที่รู้จักของจูเชในฐานะอุดมการของเกาหลีเหนือคือคำปราศรัยกล่าวโดย[[คิม อิล-ซ็อง]]เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม คริสศักราช 1955 หัวข้อว่า "บนการกำจัดลัทธิและความเป็นพิธีและการสถาปนา "จูเช" ในงานทางอุดมการณ์" ถูกตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนการกวาดล้างทางการเมืองซึ่งคล้ายกับ[[ขบวนการสัตยาบันหยานอัน]]ที่มามาก่อนในจีน<ref>{{cite journal |journal=Journal of Asiatic Studies |volume=13 |author=高麗大學校亞細亞問題硏究所 |year=1970 |page=63 |issue=3–4}}</ref>


[[ฮวัง จัง-ยอพ]]ผู้เป็นที่ปรึกษาสูงสุดของคิมในด้านอุดมการณ์ ได้ค้นพบถ้อยแถลงของคิมเมื่อคริสตศักราช 1955 ในเวลาที่คิมได้สถาปนา[[ลัทธิบูชาบุคคล]]<ref name="Sources">Choe, Yong-ho., Lee, Peter H., and de Barry, Wm. Theodore., eds. ''Sources of Korean Tradition'', Chichester, NY: Columbia University Press, p. 419, 2000.</ref>ได้ค้นหาเพื่อจะพัฒนา[[ลัทธิมาร์ซเลนิน]]แบบของเขาเองให้เขากับหลักความเชื่อของเกาหลีเหนือ<ref name="Rogue">{{cite book |title=Rogue Regime: Kim Jong Il and the Looming Threat of North Korea |last=Becker |first=Jasper |authorlink=Jasper Becker |coauthors= |year=2005 |publisher=[[Oxford University Press]] |location=[[New York City]] |isbn=0-19-517044-X}}</ref><ref>French, Paul. ''North Korea: The Paranoid Peninsula&nbsp;– A Modern History.''2nd ed. New York: Zed Books, 2007. 30. Print.</ref>
[[ฮวัง จัง-ยอพ]]ผู้เป็นที่ปรึกษาสูงสุดของคิมในด้านอุดมการณ์ ได้ค้นพบถ้อยแถลงของคิมเมื่อคริสตศักราช 1955 ในเวลาที่คิมได้สถาปนา[[ลัทธิบูชาบุคคล]]<ref name="Sources">Choe, Yong-ho., Lee, Peter H., and de Barry, Wm. Theodore., eds. ''Sources of Korean Tradition'', Chichester, NY: Columbia University Press, p. 419, 2000.</ref>ได้ค้นหาเพื่อจะพัฒนา[[ลัทธิมาร์ซเลนิน]]แบบของเขาเองให้เขากับหลักความเชื่อของเกาหลีเหนือ<ref name="Rogue">{{cite book |title=Rogue Regime: Kim Jong Il and the Looming Threat of North Korea |last=Becker |first=Jasper |authorlink=Jasper Becker |coauthors= |year=2005 |publisher=[[Oxford University Press]] |location=[[New York City]] |isbn=0-19-517044-X}}</ref><ref>French, Paul. ''North Korea: The Paranoid Peninsula&nbsp;– A Modern History.''2nd ed. New York: Zed Books, 2007. 30. Print.</ref> เหมือนกับ[[ลัทธิมาร์ซ-เลนิน]] อุดมการณ์ ''จูเช'' นำเอา[[อเทวนิยมโดยรัฐ]]มาใช้ด้วย<ref>Williamson, Kevin. The Politically Incorrect Guide to Socialism. Regnery Publishing. 2010. p128.</ref>


[[หมวดหมู่:อุดมการณ์ทางเศรษฐศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:อุดมการณ์ทางเศรษฐศาสตร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:19, 26 กันยายน 2557

จูเช (อังกฤษ: Juche; เกาหลี주체; ฮันจา主體) ปกติแปลว่า "การพึ่งตนเอง" เป็นวิทยานิพนธ์การเมืองโดย คิม อิล-ซ็อง อดีตผู้นำเกาหลีเหนือ ซึ่งกล่าวว่า มวลชนชาวเกาหลีเป็นนายแห่งการพัฒนาประเทศ นับแต่คริสต์ทศวรรษ 1950 ถึง 1970 คิมและนักทฤษฎีอื่นของพรรค เช่น ฮวัง จัง-ยอพ เสริมแต่งความคิดจูเชเป็นชุดหลักการซึ่งรัฐบาลใช้อ้างเหตุผลการตัดสินใจนโยบาย ในบรรดานโยบายเหล่านั้น ได้แก่ ทัศนคติทหารเข้มแข็งและการพึ่งพาทรัพยากรของชาติเกาหลี จูเชถูกกล่าวหาว่าเป็นศาสนาการเมืองแม้เกาหลีเหนือเป็นอเทวนิยมโดยรัฐ (state atheism) อย่างเป็นทางการ

ประวัติ

ต้นตอ

ชูเช
โชซ็อนกึล
주체사상
ฮันจา
อาร์อาร์Juche sasang
เอ็มอาร์Chuch'e sasang

จูเช เป็นคำศัพท์จีน-เกาหลีที่ยากจะแปล ตามตัวอักษรมันหมายถึง "อัตวิสัย" หรือ "ตัวแทน" และในวาทกรรมทางการเมืองมีความหมายโดยนัยของ "การพึ่งพาตัวเอง" และ "ความเป็นอิสระ"[1][2] การอ้างอิงแรกที่เป็นที่รู้จักของจูเชในฐานะอุดมการของเกาหลีเหนือคือคำปราศรัยกล่าวโดยคิม อิล-ซ็องเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม คริสศักราช 1955 หัวข้อว่า "บนการกำจัดลัทธิและความเป็นพิธีและการสถาปนา "จูเช" ในงานทางอุดมการณ์" ถูกตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนการกวาดล้างทางการเมืองซึ่งคล้ายกับขบวนการสัตยาบันหยานอันที่มามาก่อนในจีน[3]

ฮวัง จัง-ยอพผู้เป็นที่ปรึกษาสูงสุดของคิมในด้านอุดมการณ์ ได้ค้นพบถ้อยแถลงของคิมเมื่อคริสตศักราช 1955 ในเวลาที่คิมได้สถาปนาลัทธิบูชาบุคคล[4]ได้ค้นหาเพื่อจะพัฒนาลัทธิมาร์ซเลนินแบบของเขาเองให้เขากับหลักความเชื่อของเกาหลีเหนือ[5][6] เหมือนกับลัทธิมาร์ซ-เลนิน อุดมการณ์ จูเช นำเอาอเทวนิยมโดยรัฐมาใช้ด้วย[7]

  1. Cumings 1997, pp. 207, 403–404.
  2. Abt 2014, pp. 73–74.
  3. 高麗大學校亞細亞問題硏究所 (1970). Journal of Asiatic Studies. 13 (3–4): 63. {{cite journal}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)
  4. Choe, Yong-ho., Lee, Peter H., and de Barry, Wm. Theodore., eds. Sources of Korean Tradition, Chichester, NY: Columbia University Press, p. 419, 2000.
  5. Becker, Jasper (2005). Rogue Regime: Kim Jong Il and the Looming Threat of North Korea. New York City: Oxford University Press. ISBN 0-19-517044-X. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help)
  6. French, Paul. North Korea: The Paranoid Peninsula – A Modern History.2nd ed. New York: Zed Books, 2007. 30. Print.
  7. Williamson, Kevin. The Politically Incorrect Guide to Socialism. Regnery Publishing. 2010. p128.