ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนธิสัญญาพอร์ตสมัท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: ja:ポーツマス条約 เป็นบทความคุณภาพ; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35: บรรทัด 35:
การเจรจามีขึ้นจากการที่ประธานาธิบดี[[ธีโอดอร์ โรสเวลต์]]แห่งสหรัฐฯ ได้เชิญทั้งสองชาติมาจัดการเจรจากันที่สถานที่ที่เป็นกลาง อย่าง[[รัฐนิวแฮมป์เชียร์]] อันเป็นผลมาจากความพยายามของผู้ว่าการ แมคเลน ที่อยากจะให้พอร์ทสมัธเป็นสถานที่ที่มีการลงนามสนธิสัญญาระหว่างประเทศในสหรัฐอเมริกาเป็นครั้งแรก
การเจรจามีขึ้นจากการที่ประธานาธิบดี[[ธีโอดอร์ โรสเวลต์]]แห่งสหรัฐฯ ได้เชิญทั้งสองชาติมาจัดการเจรจากันที่สถานที่ที่เป็นกลาง อย่าง[[รัฐนิวแฮมป์เชียร์]] อันเป็นผลมาจากความพยายามของผู้ว่าการ แมคเลน ที่อยากจะให้พอร์ทสมัธเป็นสถานที่ที่มีการลงนามสนธิสัญญาระหว่างประเทศในสหรัฐอเมริกาเป็นครั้งแรก


ผู้แทนในการลงนามครั้งนี้ ได้แก่ ''เซรกี วิตเต'' (Серге́й Ви́тте) และ ''โรมัน โรเซ็น'' (Роман Розен) จากฝ่ายรัสเซีย กับ ''โคะมุระ จุตะโร'' และ ''ทะกะฮิระ โคะโงะโร'' จากญี่ปุ่น และมีเหล่าทูตานุทูตจากนิวแคสเซิลใน[[รัฐนิวแฮมป์เชียร์]] ร่วมเป็นสักขีพยาน
ผู้แทนในการลงนามครั้งนี้ ได้แก่ ''เซียร์เก วิตเต'' (Серге́й Ви́тте) และ ''โรมัน โรเซ็น'' (Роман Розен) จากฝ่ายรัสเซีย กับ ''โคะมุระ จุตะโร'' และ ''ทะกะฮิระ โคะโงะโร'' จากญี่ปุ่น และมีเหล่าทูตานุทูตจากนิวแคสเซิลใน[[รัฐนิวแฮมป์เชียร์]] ร่วมเป็นสักขีพยาน


สำหรับการเจรจานั้น มีขึ้นที่อาคาร ''General Stores'' ในฐานทัพเรือ ซึ่งบรรดาเฟอร์นิเจอร์ไม้[[มะฮอกกานี]]ในการเจรจาครั้งนี้ ถูกจัดไว้แบบเดียวกับห้องประชุมรัฐบาลใน[[ทำเนียบขาว]] และถูกส่งมาจาก[[วอชิงตัน ดี.ซี.]]
สำหรับการเจรจานั้น มีขึ้นที่อาคาร ''General Stores'' ในฐานทัพเรือ ซึ่งบรรดาเฟอร์นิเจอร์ไม้[[มะฮอกกานี]]ในการเจรจาครั้งนี้ ถูกจัดไว้แบบเดียวกับห้องประชุมรัฐบาลใน[[ทำเนียบขาว]] และถูกส่งมาจาก[[วอชิงตัน ดี.ซี.]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:49, 23 กันยายน 2557

สนธิสัญญาพอร์ตสมัท
สนธิสัญญาสันติภาพแห่งญี่ปุ่น-รัสเซีย
ประเภทสนธิสัญญาสันติภาพ
วันลงนาม5 กันยายน ค.ศ. 1905
ที่ลงนามอู่ต่อเรือพอร์ตสมัท, รัฐนิวแฮมป์เชียร์, สหรัฐอเมริกา
วันตรา5 กันยายน ค.ศ. 1905
วันมีผล25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1905
ผู้ลงนามจักรวรรดิรัสเซีย Serge Witte
จักรวรรดิรัสเซีย Roman Rosen
จักรวรรดิญี่ปุ่น Komura Jutarou
จักรวรรดิญี่ปุ่น Takahira Kogorou
ภาคีจักรวรรดิญี่ปุ่น จักรวรรดิญี่ปุ่น
จักรวรรดิรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซีย
ภาษาอังกฤษ

สนธิสัญญาพอร์ตสมัท (อังกฤษ: Treaty of Portsmouth) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพ ซึ่งเกิดขึ้นภายหลังจากที่สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น ในปี 1904-1905 จบลงโดยที่มีจักรวรรดิญี่ปุ่นเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะ โดยสนธิสัญญานี้มีการลงนามและประทับตรา ณ อาคารในอู่ต่อเรือพอร์ตสมัทของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 5 กันยายน 1905 และคณะองคมนตรีแห่งสมเด็จพระจักพรรดิได้ให้สัตยาบัน เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 1905

สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่นในปี 1904-1905 ถือเป็นสงครามครั้งใหญ่ครั้งแรกที่เกิดขึ้นในศตวรรศที่ 20 ฝ่ายหนึ่งมีกองทัพบกที่ใหญ่ที่สุดในโลกอย่างจักรวรรดิรัสเซีย และฝ่ายที่มีกองทัพเรือที่แข็งแกร่งที่สุดในเอเชียตะวันออกอย่างจักรวรรดิญี่ปุ่น

การเจรจา

การเจรจาสนธิสัญญาพอร์ตสมัท โต๊ะที่ใช้จัดการเจรจา ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภันฑ์เมจิ-มุระ ในจังหวัดไอชิ

การเจรจามีขึ้นจากการที่ประธานาธิบดีธีโอดอร์ โรสเวลต์แห่งสหรัฐฯ ได้เชิญทั้งสองชาติมาจัดการเจรจากันที่สถานที่ที่เป็นกลาง อย่างรัฐนิวแฮมป์เชียร์ อันเป็นผลมาจากความพยายามของผู้ว่าการ แมคเลน ที่อยากจะให้พอร์ทสมัธเป็นสถานที่ที่มีการลงนามสนธิสัญญาระหว่างประเทศในสหรัฐอเมริกาเป็นครั้งแรก

ผู้แทนในการลงนามครั้งนี้ ได้แก่ เซียร์เก วิตเต (Серге́й Ви́тте) และ โรมัน โรเซ็น (Роман Розен) จากฝ่ายรัสเซีย กับ โคะมุระ จุตะโร และ ทะกะฮิระ โคะโงะโร จากญี่ปุ่น และมีเหล่าทูตานุทูตจากนิวแคสเซิลในรัฐนิวแฮมป์เชียร์ ร่วมเป็นสักขีพยาน

สำหรับการเจรจานั้น มีขึ้นที่อาคาร General Stores ในฐานทัพเรือ ซึ่งบรรดาเฟอร์นิเจอร์ไม้มะฮอกกานีในการเจรจาครั้งนี้ ถูกจัดไว้แบบเดียวกับห้องประชุมรัฐบาลในทำเนียบขาว และถูกส่งมาจากวอชิงตัน ดี.ซี.

สำหรับข้อตกลงร่วมกันในสนธิสัญญา ทั้งญี่ปุ่นและรัสเซีย ต่างตกลงที่จะปล่อยแมนจูเรีย คืนแก่เจ้าของที่แท้จริงคือจีน แต่ญี่ปุ่น ขอเช่าคาบสมุทรเหลียวตง (ประกอบด้วยเมืองพอร์ตอาเธอร์ และ ต้าเหลียน) ตลอดจนเช่าทางรถไฟของรัสเซียในภาคใต้ของแมนจูเรีย เพื่อการเข้าถึงทรัพยากรสำคัญทางยุทธศาสตร์ และญี่ปุ่น ยังได้ครอบครองพื้นที่ครึ่งหนึ่งทางใต้ของเกาะซาฮาลินจากรัสเซีย ทั้งหมดนี้ในทางพฤติการณ์ เท่ากับว่าจักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้าปกครองดินแดนแมนจูเรีย

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link GA