ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ค่ายกักกัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต ลบ: zh,eu,pl,he,fr,bs,es,af,hu,lv,it,gl,id,ja,vi,simple,ar,nl,sv,pt,sk,yi,ru,sr,en,ro,no,mk,ca,fi,nn,sl,cs,io,bg,ur,hr,lt,da (strongly connected to th:การกักกัน)
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
ลิงก์ข้ามภาษาได้ย้ายไปยังวิกิสนเทศที่ d:Q14916829 โดยอัตโนมัติ
บรรทัด 31: บรรทัด 31:


[[br:Konzentrationslager]]
[[br:Konzentrationslager]]
[[de:Internierungslager]]
[[la:Castra ad captivos concludendos posita]]
[[la:Castra ad captivos concludendos posita]]
[[uk:Концтабір]]
[[uk:Концтабір]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:27, 27 สิงหาคม 2557

ค่ายกักกัน (อังกฤษ: Concentration Camp) คือสถานที่ที่รัฐใช้คุมขังนักโทษหรือกักกันบุคคลเฉพาะกลุ่มด้วยเหตุผลทางการเมือง นักโทษทางการเมือง ชนกลุ่มน้อย บุคคลที่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบาลหรือพลเมืองเชื้อชาติใดเชื้อชาติหนึ่ง นักโทษเหล่านี้จะถูกจับโดยไม่มีการสอบสวนตามกระบวนยุติธรรม และไม่มีกำหนดเวลาปล่อยตัว ทั้งยังถูกจำกัดสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษยชนด้วย ในแง่ประวัติศาสตร์ ค่ายกักกันที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ค่ายกักกันของพรรคนาซีในเยอรมันและค่ายกักกันแรงงานในสหภาพโซเวียต

ค่ายกักกันมีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเกิดสงครามบัวร์ในแอฟริกาใต้ โดยทั่วไปค่ายกักกันจะประกอบด้วยโรงทหารกระท่อมหรือกระโจมที่พักและบริเวณรอบ ๆ ค่ายจะมีป้อมยามและลวดหนามล้อมรอบ ผู้คุมค่ายและยามรักษาการณ์มีอำนาจเหนือชีวิตนักโทษและจะปกครองอย่างเข้มงวด

ค่ายกักกันที่สำคัญ ๆ ได้แก่

อ้างอิง

  • สมใจ ไพโรจน์ธีระรัชต์. สารานุกรมประวัติศาสตร์ยุโรปฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม C-D.

ดูเพิ่ม