ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
T.Cha. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
T.Cha. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 43: บรรทัด 43:


== รายนามสมาชิก ==
== รายนามสมาชิก ==
[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติจํานวน 200 คน เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/E/147/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 131 ตอนพิเศษ 147 ง วันที่ 31 กรกฎาคม 2557</ref><ref>[http://www.senate.go.th/w3c/senate/pictures/comm/1_11.pdf ประกาศแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ], สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ใช้เว็บไซต์ของวุฒิสภา), 1 สิงหาคม 2557</ref> ดังนี้
{{wikisource|ประกาศแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ลงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗}}
[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติจํานวน 200 คน เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/E/147/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 131 ตอนพิเศษ 147 ง วันที่ 31 กรกฎาคม 2557</ref><ref>[http://www.senate.go.th/w3c/senate/pictures/comm/1_11.pdf ประกาศแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ], สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ใช้เว็บไซต์ของวุฒิสภา), 1 สิงหาคม 2557</ref> ดังนี้
{{บน}}
{{บน}}
# [[กรรณภว์ ธนภรรคภวิน]]
# [[กรรณภว์ ธนภรรคภวิน]]
บรรทัด 265: บรรทัด 264:
วันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีวาระการประชุมวาระเดียว คือ [[การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2557|การให้ความเห็นชอบบุคคลที่จะมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี]]<ref>[http://www.thairath.co.th/content/444552 วิปสนช.แจงเกณฑ์เลือกนายกฯ ต้องได้เสียงโหวต 99 คะแนน ขึ้นไป]</ref> ซึ่งผลปรากฏว่า พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้รับเลือก
วันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีวาระการประชุมวาระเดียว คือ [[การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2557|การให้ความเห็นชอบบุคคลที่จะมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี]]<ref>[http://www.thairath.co.th/content/444552 วิปสนช.แจงเกณฑ์เลือกนายกฯ ต้องได้เสียงโหวต 99 คะแนน ขึ้นไป]</ref> ซึ่งผลปรากฏว่า พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้รับเลือก


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{wikisource|ประกาศแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ลงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗}}


{{สภานิติบัญญัติแห่งชาติ}}
{{สภานิติบัญญัติแห่งชาติ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:20, 21 สิงหาคม 2557

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ประเภท
ประเภท
ผู้บริหาร
ประธาน
รองประธาน
สมาชิกไม่เกิน 220 คน
กลุ่มการเมือง
แต่งตั้ง
ที่ประชุม
อาคารรัฐสภา

มาตรา 6 ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ให้มีสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เพื่อทำหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา

รายนามสมาชิก

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติจํานวน 200 คน เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557[1][2] ดังนี้

การไม่รับตำแหน่ง/ลาออก

อาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรีได้ทำหนังสือแจ้งต่อคณะรักษาความสงบแห่งชาติขอไม่รับตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เนื่องจากจุฬาราชมนตรีเป็นตำแหน่งผู้นำสูงสุดของศาสนาอิสลามในประเทศไทยจึงไม่สมควรรับตำแหน่งทางการเมือง และที่ผ่านมายังไม่มีใครทาบทามให้ดำรงตำแหน่งสมาชิก สนช.[3] และได้ยื่นหนังสือลาออกเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2557[4] ในวันเดียวกันนี้ พลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร ได้ยื่นหนังสือลาออกเนื่องจากขาดคุณสมบัติตามรัฐธรรมนูญเพราะเป็นสมาชิกพรรคชาติไทยพัฒนา[5]

วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2557 พลตรี อินทรัตน์ ยอดบางเตย ได้ยื่นหนังสือลาออกต่อเลขาธิการวุฒิสภาทำหน้าที่เลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติเนื่องจากขาดคุณสมบัติตามรัฐธรรมนูญเพราะเคยถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี[6]

การประชุม

ไฟล์:Opening ceremony of National Legislative 2014.png
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงเปิดประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

มีรัฐพิธีเปิดประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติในวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2557 โดยสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารทรงเป็นประธาน วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2557 มีการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติครั้งแรกเพื่อเลือกประธาน ผลปรากฏว่าศาสตราจารย์พิเศษพรเพชร วิชิตชลชัย ได้รับเลือก[7]

วันที่ 18 สิงหาคม 2557 เวลา 09.19 น. มีพิธีรับสนองพระบรมราชโองการโปรดเกล้าแต่งตั้งประธานและรองประธาน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และในเวลา 10.10 น. ได้มีการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาตินัดที่ 2 เพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558[ต้องการอ้างอิง]

วันที่ 19 สิงหาคม 2557 คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2558 เป็นวันแรก โดยคณะกรรมาธิการฯ อนุญาตให้ผู้ที่มาชี้แจงรับฟังเท่านั้น ไม่อนุญาตให้สื่อมวลชนเข้าร่วมรับฟังการพิจารณา และไม่มีการถ่ายทอดการประชุม นรรัตน์ พิมเสน เลขาธิการวุฒิสภา ปฏิบัติหน้าที่เลขาสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ระบุเหตุผลว่า อาจเป็นเพราะต้องการพิจารณาอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ ตั้งแต่วันที่ 18 สิงหาคม สื่อมวลชนไม่ได้รับอนุญาตให้ไปสัมภาษณ์ คสช. ที่บริเวณชั้นลอย อาคารรัฐสภา 1 ซึ่งปกติสื่อมวลชนไปรอสัมภาษณ์นายกรัฐมนตรี[8]

วันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีวาระการประชุมวาระเดียว คือ การให้ความเห็นชอบบุคคลที่จะมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี[9] ซึ่งผลปรากฏว่า พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้รับเลือก

อ้างอิง

  1. พระบรมราชโองการ ประกาศแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติราชกิจจานุเบกษา เล่ม 131 ตอนพิเศษ 147 ง วันที่ 31 กรกฎาคม 2557
  2. ประกาศแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ใช้เว็บไซต์ของวุฒิสภา), 1 สิงหาคม 2557
  3. "อาศิส พิทักษ์คุมพล" จุฬาราชมนตรีขอไม่รับตำแหน่ง "สนช.", ไทยพีบีเอส, 2 สิงหาคม 2557
  4. จุฬาราชมนตรียื่นหนังสือลาออก สนช.แล้ว, อสมท., 6 สิงหาคม 2557
  5. พล.อ.ธวัชชัยยื่นหนังสือลาออกสนช., โพสต์ทูเดย์, 6 สิงหาคม 2557
  6. พล.ต.อินทรัตน์ลาออกจากการเป็นสนช. ,now26.tv 7 สิงหาคม 2557
  7. พรเพชรเป็นประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ,now26.tv,8 สิงหาคม 2557
  8. สั่งห้ามสื่อเข้าฟัง กมธ.งบฯ 58 เข้ม! กันสื่อตรวจสอบงบ 2.5 ล้านล้าน
  9. วิปสนช.แจงเกณฑ์เลือกนายกฯ ต้องได้เสียงโหวต 99 คะแนน ขึ้นไป

แหล่งข้อมูลอื่น