ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปืนใหญ่ลำกล้อง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สุขพินทุ (คุย | ส่วนร่วม)
!? ใครอธิบายได้บ้าง เพราะภาพกุญแจนั้น อาจจะรบกวนการอ่านตามปกติ
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ สุขพินทุ (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย 182.53.14...
บรรทัด 5: บรรทัด 5:


== ปืนใหญ่ในประเทศไทย ==
== ปืนใหญ่ในประเทศไทย ==
ปืนใหญ่ใน[[ประเทศไทย]]นั้นนำมาใช้เป็นเวลาช้านานแล้ว หนังสือวิวัฒนาการแห่งศัสตราวุธในกองทัพบกไทย<ref>[https://docs.google.com/file/d/0ByO9NrP9-S_9QWhkSEdINkdWREk หนังสือวิวัฒนาการแห่งศัสตราวุธในกองทัพบกไทย หน้า 62&nbsp;]</ref> ว่า มีการใช้ปืนใหญ่สมัยสุโขทัย ชวาเก็บปืนใหญ่ไทยจำนวน 2 กระบอกจากการรบกับพวกมัชฌปาหิตในสงครามตีเมืองชวาประมาณ พ.ศ. 1857 และมีบันทึกในพระราชพงศาวดาร<ref>[http://th.wikisource.org/w/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A9%3A%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%B2&profile=default&search=%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87+%E0%B9%95+%E0%B8%A7%E0%B8%B2&fulltext=Search พระราชพงศาวดารกรุงสยามฉบับบริติชมิวเซียม ศักราช ๗๔๖ ปีชวด ฉศก]</ref>ว่า ในสมัย[[สมเด็จพระราเมศวร]] กองทัพ[[อยุธยา]]ใช้ปืนใหญ่ยิงกำแพงเมืองเชียงใหม่พังไป 5 วา<ref>[https://sites.google.com/site/wikiscruple/shooter ปืนใหญ่ประเภทต่าง ๆ ข้อมูลโดยพิพิธภัณฑ์ทหารเรือ &nbsp;]</ref> กฎหมายสมัย[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]]ก็กล่าวถึงหน่วยทหารปืนใหญ่เช่นกัน<ref>[http://www.crma.ac.th/msdept/e_bookmsd2012/ms2554/ms2004/datams2004/artillery/lesson1.pdf เหล่าสนับสนุนการรบ (Artillery Corps). กำเนิดเหล่าทหารปืนใหญ่ของไทย หน้า 3]</ref> อนึ่ง หลังจากที่[[โปรตุเกส]]เดินทางเข้ามาถึงกรุงศรีอยุธยาในสมัย[[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2]] ก็เริ่มมีการซื้อปืนใหญ่ของโปรตุเกสเข้ามาประจำการในกองทัพไทย
ปืนใหญ่ใน[[ประเทศไทย]]นั้นนำมาใช้เป็นเวลาช้านานแล้ว หนังสือวิวัฒนาการแห่งศัสตราวุธในกองทัพบกไทย<ref>[https://docs.google.com/file/d/0ByO9NrP9-S_9QWhkSEdINkdWREk หนังสือวิวัฒนาการแห่งศัสตราวุธในกองทัพบกไทย หน้า 62&nbsp;]<font size="1" color="#cc0000">pdf</font></ref> ว่า มีการใช้ปืนใหญ่สมัยสุโขทัย ชวาเก็บปืนใหญ่ไทยจำนวน 2 กระบอกจากการรบกับพวกมัชฌปาหิตในสงครามตีเมืองชวาประมาณ พ.ศ. 1857 และมีบันทึกในพระราชพงศาวดาร<ref>[http://th.wikisource.org/w/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A9%3A%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%B2&profile=default&search=%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87+%E0%B9%95+%E0%B8%A7%E0%B8%B2&fulltext=Search พระราชพงศาวดารกรุงสยามฉบับบริติชมิวเซียม ศักราช ๗๔๖ ปีชวด ฉศก]</ref>ว่า ในสมัย[[สมเด็จพระราเมศวร]] กองทัพ[[อยุธยา]]ใช้ปืนใหญ่ยิงกำแพงเมืองเชียงใหม่พังไป 5 วา<ref>[https://sites.google.com/site/wikiscruple/shooter ปืนใหญ่ประเภทต่าง ๆ ข้อมูลโดยพิพิธภัณฑ์ทหารเรือ &nbsp;]</ref> กฎหมายสมัย[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]]ก็กล่าวถึงหน่วยทหารปืนใหญ่เช่นกัน<ref>[http://www.crma.ac.th/msdept/e_bookmsd2012/ms2554/ms2004/datams2004/artillery/lesson1.pdf เหล่าสนับสนุนการรบ (Artillery Corps). กำเนิดเหล่าทหารปืนใหญ่ของไทย หน้า 3]</ref> อนึ่ง หลังจากที่[[โปรตุเกส]]เดินทางเข้ามาถึงกรุงศรีอยุธยาในสมัย[[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2]] ก็เริ่มมีการซื้อปืนใหญ่ของโปรตุเกสเข้ามาประจำการในกองทัพไทย


อย่างไรก็ตาม การหล่อปืนใหญ่ของของไทยนั้นมีคุณภาพดีเป็นที่เลื่องลือมาก [[โชกุน]][[โทะกุงะวะ อิเอะยะสุ]]เคยส่งสารมาทูลขอพระราชทานปืนใหญ่และไม้หอมจาก[[สมเด็จพระเอกาทศรถ]] นอกจากนี้ ในสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] พระองค์ได้ทรงส่งปืนใหญ่ 2 กระบอก<ref name="shooter">[http://issuu.com/lakmuangonline/docs/sirikit/79 หนังสือมองประวัติศาสตร์ชาติไทยผ่านศัสตราวุธ หน้า 79]</ref>ที่ผลิตในไทยไปถวาย[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14]] และได้มีบันทึกต่อมาว่า ปืนสองกระบอกนี้เองใช้[[การโจมตีคุกบาสตีย์|ยิงทลายประตูคุกบาสตีย์]]<ref>[http://www.victorianweb.org/authors/carlyle/fr/bastille.html Chapter VI. Storm and Victory. July 14th, 1789. ย่อหน้า ที่ 6]</ref><ref>[http://www.persee.fr/web/revues/home/prescript/article/ahrf_0003-4436_1985_num_261_1_1121 A propos des canons siamois offerts à Louis XIV qui participèrent à la prise de la Bastille.]&nbsp;[http://www.siamese-heritage.org/jsspdf/1921/JSS_015_1d_Sewell_SomeOldSiameseGuns.pdf ect. ( แผ่นที่ 5 )]</ref> ปัจจุบัน ปืนคู่นี้ตั้งแสดงใน[[พิพิธภัณฑ์]]ทหารบกฝรั่งเศส<ref name="shooter"></ref>
อย่างไรก็ตาม การหล่อปืนใหญ่ของของไทยนั้นมีคุณภาพดีเป็นที่เลื่องลือมาก [[โชกุน]][[โทะกุงะวะ อิเอะยะสุ]]เคยส่งสารมาทูลขอพระราชทานปืนใหญ่และไม้หอมจาก[[สมเด็จพระเอกาทศรถ]] นอกจากนี้ ในสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] พระองค์ได้ทรงส่งปืนใหญ่ 2 กระบอก<ref name="shooter">[http://issuu.com/lakmuangonline/docs/sirikit/79 หนังสือมองประวัติศาสตร์ชาติไทยผ่านศัสตราวุธ หน้า 79]</ref>ที่ผลิตในไทยไปถวาย[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14]] และได้มีบันทึกต่อมาว่า ปืนสองกระบอกนี้เองใช้[[การโจมตีคุกบาสตีย์|ยิงทลายประตูคุกบาสตีย์]]<ref>[http://www.victorianweb.org/authors/carlyle/fr/bastille.html Chapter VI. Storm and Victory. July 14th, 1789. ย่อหน้า ที่ 6]</ref><ref>[http://www.persee.fr/web/revues/home/prescript/article/ahrf_0003-4436_1985_num_261_1_1121 A propos des canons siamois offerts à Louis XIV qui participèrent à la prise de la Bastille.]&nbsp;[http://www.siamese-heritage.org/jsspdf/1921/JSS_015_1d_Sewell_SomeOldSiameseGuns.pdf ect. ( แผ่นที่ 5 )]</ref> ปัจจุบัน ปืนคู่นี้ตั้งแสดงใน[[พิพิธภัณฑ์]]ทหารบกฝรั่งเศส<ref name="shooter"></ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:27, 14 สิงหาคม 2557

ฺBress Gun (Siamese) 1623[1]

ปืนใหญ่ หมายถึง อาวุธปืนที่มีความกว้างปากลำกล้องตั้งแต่ 20 มิลลิเมตรขึ้นไป โดยมีระยะยิงกลางถึงไกล มีอำนาจทำลายล้างสูง ใช้การยิงหัวกระสุนด้วยแรงดันจากการเผาไหม้ดินส่งกระสุนให้เกิดก๊าซจนเคลื่อนที่ออกไป โดยสามารถทำการยิงได้ทั้งแนววิถีราบหรือวิถีโค้ง โดยภายในหัวกระสุนจะบรรจุวัตถุระเบิดและตัวจุดชนวน เมื่อหัวกระสุนตกกระทบเป้าหมายจะเกิดการระเบิดสร้างความเสียหายอย่างรุนแรง

ปืนใหญ่ในประเทศไทย

ปืนใหญ่ในประเทศไทยนั้นนำมาใช้เป็นเวลาช้านานแล้ว หนังสือวิวัฒนาการแห่งศัสตราวุธในกองทัพบกไทย[2] ว่า มีการใช้ปืนใหญ่สมัยสุโขทัย ชวาเก็บปืนใหญ่ไทยจำนวน 2 กระบอกจากการรบกับพวกมัชฌปาหิตในสงครามตีเมืองชวาประมาณ พ.ศ. 1857 และมีบันทึกในพระราชพงศาวดาร[3]ว่า ในสมัยสมเด็จพระราเมศวร กองทัพอยุธยาใช้ปืนใหญ่ยิงกำแพงเมืองเชียงใหม่พังไป 5 วา[4] กฎหมายสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถก็กล่าวถึงหน่วยทหารปืนใหญ่เช่นกัน[5] อนึ่ง หลังจากที่โปรตุเกสเดินทางเข้ามาถึงกรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ก็เริ่มมีการซื้อปืนใหญ่ของโปรตุเกสเข้ามาประจำการในกองทัพไทย

อย่างไรก็ตาม การหล่อปืนใหญ่ของของไทยนั้นมีคุณภาพดีเป็นที่เลื่องลือมาก โชกุนโทะกุงะวะ อิเอะยะสุเคยส่งสารมาทูลขอพระราชทานปืนใหญ่และไม้หอมจากสมเด็จพระเอกาทศรถ นอกจากนี้ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระองค์ได้ทรงส่งปืนใหญ่ 2 กระบอก[6]ที่ผลิตในไทยไปถวายพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และได้มีบันทึกต่อมาว่า ปืนสองกระบอกนี้เองใช้ยิงทลายประตูคุกบาสตีย์[7][8] ปัจจุบัน ปืนคู่นี้ตั้งแสดงในพิพิธภัณฑ์ทหารบกฝรั่งเศส[6]

อ้างอิง

  1. THE“ SIAMESE BRASS CANNON ” R.S. Scrivener
  2. หนังสือวิวัฒนาการแห่งศัสตราวุธในกองทัพบกไทย หน้า 62 pdf
  3. พระราชพงศาวดารกรุงสยามฉบับบริติชมิวเซียม ศักราช ๗๔๖ ปีชวด ฉศก
  4. ปืนใหญ่ประเภทต่าง ๆ ข้อมูลโดยพิพิธภัณฑ์ทหารเรือ  
  5. เหล่าสนับสนุนการรบ (Artillery Corps). กำเนิดเหล่าทหารปืนใหญ่ของไทย หน้า 3
  6. 6.0 6.1 หนังสือมองประวัติศาสตร์ชาติไทยผ่านศัสตราวุธ หน้า 79
  7. Chapter VI. Storm and Victory. July 14th, 1789. ย่อหน้า ที่ 6
  8. A propos des canons siamois offerts à Louis XIV qui participèrent à la prise de la Bastille. ect. ( แผ่นที่ 5 )

แม่แบบ:Link FA