ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแจกแจงอเนกนาม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Blueocynia (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: ถ้าในการทดลองใดๆที่มีลักษณะคล้ายกับการทดลองการแจกแจงแบบ...
 
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
:<math>E(X_i) = np_i</math>
:<math>E(X_i) = np_i</math>
:<math>V(X_i) = np_i(1-p_i)</math>
:<math>V(X_i) = np_i(1-p_i)</math>

[[หมวดหมู่:การแจกแจงความน่าจะเป็น]]
[[หมวดหมู่:แฟคทอเรียลและหัวข้อเรื่องทวินาม]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:11, 11 สิงหาคม 2557

ถ้าในการทดลองใดๆที่มีลักษณะคล้ายกับการทดลองทวินาม คือเป็นการทดลองซ้ำๆกันหลายครั้ง โดยการทดลองแต่ละครั้งเป็นอิสระกัน คือมีความน่าจะเป็นของการเกิดความสำเร็จในการทดลองแต่ละครั้งคงที่ แต่การทดลองแต่ละครั้งนั้นผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีได้มากกว่า 2 ทาง เช่น การสุ่มหยิบสินค้าจากกล่องมาครั้งละ 1 ชิ้น โดยหยิบมา 5 ครั้งแบบใส่คืน ถ้าสินค้าในกล่องแบ่งเป็น 3 เกรดคือ สินค้าดี สินค้ามีตำหนิ และสินค้าเสีย นั่นคือผลที่เกิดขึ้นจากการสุ่มหยิบแต่ละครั้งมีได้ 3 ทาง การทดลองเช่นนี้จะเรียกว่าการทดลองแบบอเนกนาม โดยมีฟังก์ชันความน่าจะเป็นดังนี้

โดยที่

และ

และมีค่าคาดหวังและความแปรปรวนดังนี้