ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาโรลึส กลือซียึส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=280px}}
{{กล่องข้อมูล บุคคลตามอาชีพ
{{กล่องข้อมูล บุคคลตามอาชีพ
| name = คาโรลัส คลูเซียส<br><small>Charles de l'Écluse</small>
| name = กาโรลึส กลือซียึส
| main_occupation = [[นักพฤกษศาสตร์]]
| main_occupation = [[นักพฤกษศาสตร์]]
| image = Charles_de_l%27%C3%89cluse_1525-1609.jpg
| image = Charles_de_l%27%C3%89cluse_1525-1609.jpg
| imagesize =
| imagesize =
| caption = คาโรลัส คลูเซียส
| caption = กาโรลึส กลือซียึส
| other_name =
| other_name =
| nationality = [[ชาวเบลเยียม]]
| nationality = [[ชาวเบลเยียม]]
บรรทัด 26: บรรทัด 25:
| wiki_links = [[:หมวดหมู่:นักพฤกษศาสตร์|นักพฤกษศาสตร์]]
| wiki_links = [[:หมวดหมู่:นักพฤกษศาสตร์|นักพฤกษศาสตร์]]
}}
}}
'''คาโรลัส คลูเซียส''' หรือ '''ชาร์ลส์ เดอ เลอคลูส์''' ({{lang-en|Carolus Clusius หรือ Charles de l'Écluse หรือ L'Escluse}}) ([[19 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1526]] - ([[4 เมษายน]] [[ค.ศ. 1609]]) คาโรลัส คลูเซียสเป็นนายแพทย์และ[[นักพฤกษศาสตร์]]คนสำคัญชาว[[ฟลานเดอร์ส]] ที่เกิดเมื่อวันที่ [[19 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1526]] ที่อาร์ราส์ใน[[ประเทศฝรั่งเศส]]ปัจจุบัน และเสียชีวิตเมื่อวันที่ [[4 เมษายน]] [[ค.ศ. 1609]] ที่ไลเดน ใน[[ประเทศเนเธอร์แลนด์]]ปัจจุบัน คลูเซียสอาจจะถือว่าเป็น[[นักพฤกษศาสตร์]]ผู้เป็นผู้นำคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ของสาขา[[พืชกรรมสวน]]
'''กาโรลึส กลือซียึส''' ({{lang-nl|Carolus Clusius}}) หรือ '''ชาร์ล เดอ เลกลูซ''' ({{lang-fr|Charles de L'Écluse, Charles de L'Escluse}}; [[19 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1526]] - [[4 เมษายน]] [[ค.ศ. 1609]]) เป็นนายแพทย์และ[[นักพฤกษศาสตร์]]ชาว[[ฟลานเดอส์|เฟลมิช]]คนสำคัญ เกิดเมื่อวันที่ [[19 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1526]] ที่เมือง[[อารัส]]ใน[[ประเทศฝรั่งเศส]]ปัจจุบัน และเสียชีวิตเมื่อวันที่ [[4 เมษายน]] [[ค.ศ. 1609]] ที่เมือง[[ไลเดิน]]ใน[[ประเทศเนเธอร์แลนด์]]ปัจจุบัน อาจถือว่ากลือซียึสเป็น[[นักพฤกษศาสตร์]]ผู้เป็นผู้นำคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ของสาขา[[พืชกรรมสวน]]


คลูเซียสได้รับการศึกษาด้านการแพทย์ที่[[มงต์เปล์ลิเยร์]]กับศาสตราจารย์แพทย์ศาสตร์คนสำคัญ[[กีโยม รนเดเลต์]] (Guillaume Rondelet) แต่ก็ไม่มีโอกาสได้ทำหน้าที่เป็นแพทย์ตามที่ได้ร่ำเรียนมา ในปี ค.ศ. 1573 คลูเซียสก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ดูแลสวน[[สมุนไพร]]หลวงในกรุง[[เวียนนา]]โดย[[สมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|พระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 2]] และเป็นพนักงานห้องพระบรรทม แต่รับตำแหน่งอยู่ไม่นานก็ถูกปลดเมื่อ[[สมเด็จพระจักรพรรดิรูดอล์ฟ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|พระจักรพรรดิรูดอล์ฟ]]ขึ้นครองราชย์ในปี [[ค.ศ. 1576]] หลังจากออกจากเวียนนาในปลายคริสต์ทศวรรษ 1580 แล้วคลูเซียสก็ไปทำงานอยู่ที่ฟรังเฟิร์ตก่อนที่จะได้รับตำแหน่งเป็นศาสตราจารย์ที่[[มหาวิทยาลัยไลเดน]]ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1593 คลูเซียสเป็นผู้ช่วยในการก่อตั้ง[[สวนพฤกษศาสตร์]]อย่างเป็นทางการของยุโรปเป็นแห่งแรกๆ ที่ไลเดน -- “สถาบันพฤกษศาสตร์แห่งไลเดน” (Hortus Botanicus Leiden) รายละเอียดของพืชที่ปลูกที่บันทึกไว้สามารถทำให้สามารถรื้อฟื้นการสร้างสวนเดียวกันนั้นขึ้นใหม่ได้ไม่ไกลจากส่วนเดิมเท่าใดนัก
กลือซียึสได้รับการศึกษาด้านการแพทย์ที่[[มงเปอลีเย]]กับศาสตราจารย์แพทย์ศาสตร์คนสำคัญ[[กีโยม รงเดอแล]] (Guillaume Rondelet) แต่ก็ไม่มีโอกาสได้ทำหน้าที่เป็นแพทย์ตามที่ได้ร่ำเรียนมา ในปี ค.ศ. 1573 กลือซียึสก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ดูแลสวน[[สมุนไพร]]หลวงในกรุง[[เวียนนา]]โดย[[จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2]] และเป็นพนักงานห้องพระบรรทม แต่รับตำแหน่งอยู่ไม่นานก็ถูกปลดเมื่อ[[จักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2]] ขึ้นครองราชย์ในปี [[ค.ศ. 1576]] หลังจากออกจากเวียนนาในปลายคริสต์ทศวรรษ 1580 แล้ว กลือซียึสก็ไปทำงานอยู่ที่แฟรงก์เฟิร์ตก่อนที่จะได้รับตำแหน่งเป็นศาสตราจารย์ที่[[มหาวิทยาลัยไลเดิน]]ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1593 กลือซียึสเป็นผู้ช่วยในการก่อตั้ง[[สวนพฤกษศาสตร์]]อย่างเป็นทางการของยุโรปเป็นแห่งแรก ๆ ที่ไลเดิน คือ "สวนพฤกษศาสตร์ไลเดิน" (Hortus Botanicus Leiden) รายละเอียดของพืชที่ปลูกที่บันทึกไว้สามารถทำให้สามารถรื้อฟื้นการสร้างสวนเดียวกันนั้นขึ้นใหม่ได้ไม่ไกลจากส่วนเดิมเท่าใดนัก


ในด้านประวัติศาสตร์การสวนคลูเซียสเป็นผู้มีชื่อเสียงไม่แต่ในด้านความรู้ความสามารถแต่ยังในด้านการสังเกตเกี่ยวกับการแตกสีของ[[ทิวลิป]] — ที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 จึงได้ทราบกันว่าเกิดจาก[[ไวรัสทิวลิปแตกสี|ไวรัส]] — ที่ทำให้ดอกทิวลิปแตกออกเป็นสีต่างๆ และมีลักษณะเป็นเปลว หรือ ขนนกที่นำไปสู่[[การเก็งกำไร]]การซื้อหัวทิวลิปที่เชื่อกันว่าจะแตกสีในเหตุการณ์ที่เรียกกันว่า [[ความคลั่งทิวลิป]]<ref>{{citation | last = Garber | first = Peter M. | year = 1989 | title = Tulipmania | volume = 97 | issue = 3 | pages = 535–560 | doi = 10.1086/ | accessdate= | journal = Journal of Political Economy}}</ref>ที่เกิดขึ้นในเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ทศวรรษ 1630 คลูเซียสเป็นผู้วางรากฐานการขยายสายพันธุ์ทิวลิปและระบบการซื้อขายหัวทิวลิปที่กลายมาเป็นอุตสาหกรรมสำคัญของเนเธอร์แลนด์ในปัจจุบัน
ในด้านประวัติศาสตร์การสวน กลือซียึสเป็นผู้มีชื่อเสียงไม่แต่ในด้านความรู้ความสามารถแต่ยังในด้านการสังเกตเกี่ยวกับการแตกสีของ[[ทิวลิป]] — ที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 จึงได้ทราบกันว่าเกิดจาก[[ไวรัสทิวลิปแตกสี|ไวรัส]] — ที่ทำให้ดอกทิวลิปแตกออกเป็นสีต่าง ๆ และมีลักษณะเป็นเปลว หรือขนนกที่นำไปสู่[[การเก็งกำไร]]การซื้อหัวทิวลิปที่เชื่อกันว่าจะแตกสีในเหตุการณ์ที่เรียกกันว่า "[[ความคลั่งทิวลิป]]"<ref>{{citation | last = Garber | first = Peter M. | year = 1989 | title = Tulipmania | volume = 97 | issue = 3 | pages = 535–560 | doi = 10.1086/ | accessdate= | journal = Journal of Political Economy}}</ref> ที่เกิดขึ้นในเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ทศวรรษ 1630 กลือซียึสเป็นผู้วางรากฐานการขยายสายพันธุ์ทิวลิปและระบบการซื้อขายหัวทิวลิปที่กลายมาเป็นอุตสาหกรรมสำคัญของเนเธอร์แลนด์ในปัจจุบัน


คลูเซียสมีงานแปลและงานเขียนหลายชิ้นที่รวมทั้ง ''[[หนังสือสัตววิทยาและพฤกศาสต์โพ้นทะเลสิบเล่ม]]'' (Exoticorum libri decem)
กลือซียึสมีงานแปลและงานเขียนหลายชิ้นซึ่งรวม ''[[หนังสือสัตววิทยาและพฤกษศาสตร์โพ้นทะเลสิบเล่ม]]'' ({{lang|la|''Exoticorum libri decem''}}) ไว้ด้วย


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:26, 8 สิงหาคม 2557

กาโรลึส กลือซียึส
กาโรลึส กลือซียึส
เกิด19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1526
เสียชีวิต4 เมษายน ค.ศ. 1609
สัญชาติชาวเบลเยียม
อาชีพแพทย์และนักพฤกษศาสตร์
ผลงานเด่นExoticorum libri decem
ตำแหน่งนักพฤกษศาสตร์
นักพฤกษศาสตร์

กาโรลึส กลือซียึส (ดัตช์: Carolus Clusius) หรือ ชาร์ล เดอ เลกลูซ (ฝรั่งเศส: Charles de L'Écluse, Charles de L'Escluse; 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1526 - 4 เมษายน ค.ศ. 1609) เป็นนายแพทย์และนักพฤกษศาสตร์ชาวเฟลมิชคนสำคัญ เกิดเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1526 ที่เมืองอารัสในประเทศฝรั่งเศสปัจจุบัน และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1609 ที่เมืองไลเดินในประเทศเนเธอร์แลนด์ปัจจุบัน อาจถือว่ากลือซียึสเป็นนักพฤกษศาสตร์ผู้เป็นผู้นำคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ของสาขาพืชกรรมสวน

กลือซียึสได้รับการศึกษาด้านการแพทย์ที่มงเปอลีเยกับศาสตราจารย์แพทย์ศาสตร์คนสำคัญกีโยม รงเดอแล (Guillaume Rondelet) แต่ก็ไม่มีโอกาสได้ทำหน้าที่เป็นแพทย์ตามที่ได้ร่ำเรียนมา ในปี ค.ศ. 1573 กลือซียึสก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ดูแลสวนสมุนไพรหลวงในกรุงเวียนนาโดยจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2 และเป็นพนักงานห้องพระบรรทม แต่รับตำแหน่งอยู่ไม่นานก็ถูกปลดเมื่อจักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 ขึ้นครองราชย์ในปี ค.ศ. 1576 หลังจากออกจากเวียนนาในปลายคริสต์ทศวรรษ 1580 แล้ว กลือซียึสก็ไปทำงานอยู่ที่แฟรงก์เฟิร์ตก่อนที่จะได้รับตำแหน่งเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยไลเดินในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1593 กลือซียึสเป็นผู้ช่วยในการก่อตั้งสวนพฤกษศาสตร์อย่างเป็นทางการของยุโรปเป็นแห่งแรก ๆ ที่ไลเดิน คือ "สวนพฤกษศาสตร์ไลเดิน" (Hortus Botanicus Leiden) รายละเอียดของพืชที่ปลูกที่บันทึกไว้สามารถทำให้สามารถรื้อฟื้นการสร้างสวนเดียวกันนั้นขึ้นใหม่ได้ไม่ไกลจากส่วนเดิมเท่าใดนัก

ในด้านประวัติศาสตร์การสวน กลือซียึสเป็นผู้มีชื่อเสียงไม่แต่ในด้านความรู้ความสามารถแต่ยังในด้านการสังเกตเกี่ยวกับการแตกสีของทิวลิป — ที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 จึงได้ทราบกันว่าเกิดจากไวรัส — ที่ทำให้ดอกทิวลิปแตกออกเป็นสีต่าง ๆ และมีลักษณะเป็นเปลว หรือขนนกที่นำไปสู่การเก็งกำไรการซื้อหัวทิวลิปที่เชื่อกันว่าจะแตกสีในเหตุการณ์ที่เรียกกันว่า "ความคลั่งทิวลิป"[1] ที่เกิดขึ้นในเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ทศวรรษ 1630 กลือซียึสเป็นผู้วางรากฐานการขยายสายพันธุ์ทิวลิปและระบบการซื้อขายหัวทิวลิปที่กลายมาเป็นอุตสาหกรรมสำคัญของเนเธอร์แลนด์ในปัจจุบัน

กลือซียึสมีงานแปลและงานเขียนหลายชิ้นซึ่งรวม หนังสือสัตววิทยาและพฤกษศาสตร์โพ้นทะเลสิบเล่ม ([Exoticorum libri decem] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) ไว้ด้วย

อ้างอิง

  1. Garber, Peter M. (1989), "Tulipmania", Journal of Political Economy, 97 (3): 535–560, doi:10.1086/ {{citation}}: ตรวจสอบค่า |doi= (help)

ดูเพิ่ม