ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรมอญ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{อักษรพม่า}}
{{อักษรพม่า}}
'''อักษรมอญ''' พัฒนามาจาก[[อักษรพราหมี]] ผ่านทาง[[อักษรปัลลวะ]] และเป็นแม่แบบของอักษรอื่น เช่น [[อักษรพม่า]] [[อักษรไทย]] [[อักษรลาว]] [[อักษรล้านนา]] [[อักษรไทลื้อ]] อักษรธรรมที่ใช้เขียนคัมภีร์ใน[[ล้านนา]]และ[[ล้านช้าง]]
อักษรมอญ พัฒนามาจาก[[อักษรพราหมี]] ผ่านทาง[[อักษรปัลลวะ]] และเป็นแม่แบบของอักษรอื่น เช่น [[อักษรพม่า]] [[อักษรไทย]] [[อักษรลาว]] [[อักษรล้านนา]] [[อักษรไทลื้อ]] และอักษรธรรมที่ใช้เขียนคัมภีร์ใน[[อักษรธรรมล้านนา]]และ[[อักษรธรรมลาว]] โปรดเข้าใจด้วยว่า อักษรพม่า นั้นไม่สามารถใช้แทน อักษรมอญได้ แต่อักษรมอญนั้น สามารถใช้แทน อักษรพม่าได้
ได้โปรดเข้าใจด้วยว่า อักษรพม่า ไม่สามารถใช้แทน อักษรมอญได้ แต่อักษรมอญนั้น สามารถใช้แทน อักษรพม่าได้


==ประวัติ==
อักษรมอญโบราณพัฒนามาจากอักษรยุคหลังปัลลวะ (พุทธศตวรรษ 13-15) พบจารึกอักษรนี้ในเขตหริภุญชัย เช่นที่ [[เวียงมโน]] [[เวียงเถาะ]] รูปแบบของอักษรมอญต่างจาก[[อักษรขอม]]ที่พัฒนาจากอักษรในอินเดียใต้รุ่นเดียวกันคือ อักษรมอญตัดบ่าอักษรออกไป ทำให้รูปอักษรค่อนข้างกลม ส่วนอักษรขอมเปลี่ยนบ่าอักษรเป็นศกหรือหนามเตย
อักษรมอญโบราณพัฒนามาจากอักษรยุคหลังปัลลวะ (พุทธศตวรรษ 13-15) พบจารึกอักษรนี้ในเขต[[หริภุญชัย]] เช่นที่ เวียงมโน เวียงเถาะ รูปแบบของอักษรมอญต่างจากอักษรขอมที่พัฒนาจากอักษรในอินเดียใต้รุ่นเดียวกันคือ อักษรมอญตัดบ่าอักษรออกไป ทำให้รูปอักษรค่อนข้างกลม ส่วน[[อักษรขอม]]เปลี่ยนบ่าอักษรเป็นศกหรือหนามเตย

อักษรมอญ ที่เก่าแก่ที่สุดนั้น ค้นพบในประเทศไทย หลักฐานที่พบคือ [[ศิลาจารึก|จารึก]]วัดโพธิ์ร้าง พ.ศ. 1143 เป็นอักษรมอญโบราณที่เก่าแก่ที่สุด ในบรรดาจารึกภาษามอญที่ได้ค้นพบ ในแถบ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้|เอเชียอาคเนย์]]ทั้งหมด ปรากฏ
เป็นจารึกที่เขียนด้วยตัวอักษรปัลลวะ ที่ยังไม่ได้ดัดแปลงให้เป็น อักษรมอญ และได้พบอักษรที่มอญประดิษฐ์เพิ่มขึ้น เพื่อให้พอกับเสียงใน[[ภาษามอญ]] แสดงว่า มอญใช้อักษรปัลลวะในการสื่อสาร อักษรที่ประดิษฐ์เพิ่มนี้ ยังได้พบในจารึกเสาแปดเหลี่ยมที่ศาลสูง เมืองลพบุรี ข้อความที่จารึกเกี่ยวกับ[[พระพุทธศาสนา]] สันนิษฐานว่า จารึกใน[[พุทธศตวรรษที่ 13]] ราว พ.ศ. 1314 อักษรจารึกในศิลาหลักนี้ เรียกว่า ตัวอักษรหลังปัลลวะ

=====สมัยกลาง =====
# จารึกในประเทศพม่าภาคเหนือ ส่วนมากได้จากเมืองพะขัน และเมืองแปร [[ศิลาจารึก]]เหล่านี้ สร้างขึ้นในรัชสมัยของ[[พระเจ้าอโนรธา]] กษัตริย์พุกามประมาณ พ.ศ. 1600 เป็นต้นมา พม่ารับอักษรมอญมาใช้เขียนภาษาพม่าเป็นครั้งแรก
# ศิลาจารึกที่พบที่วัดแห่งหนึ่งในนคร[[ลำพูน]] ลักษณะอักษรเป็นจารึกในสมัย[[พุทธศตวรรษที่ 17]] หรือ [[พุทธศตวรรษที่ 18]]
# จารึกในประเทศพม่าภาคใต้ เป็นจารึกของพระเจ้าธรรมเจดีย์ (พ.ศ. 2003-2034)
ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16-17 ตัวอักษรได้คลี่คลายจากตัวอักษรปัลลวะ มาเป็นตัวอักษรสีเหลี่ยมคือตัวอักษรที่เรียกว่าอักษรมอญโบราณและเปลี่ยนแปลงขนาดเล็กลงในระยะต่อมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 21 ก็ได้กลายเป็นอักษรมอญปัจจุบันซึ่งมีลักษณะกลม เกิดจากอิทธิพลของการจารหนังสือโดยใช้เหล็กจารลงบนใบลาน

=====สมัยปัจจุบัน =====
* ภาษามอญปัจจุบัน เป็นภาษาในระยะ[[พุทธศตวรรษที่ 21]] เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน นับเป็นระยะเวลาประมาณ 400 ปีเศษ ในยุคนี้เป็นจารึกในใบลาน


== ลักษณะ ==
== ลักษณะ ==
บรรทัด 18: บรรทัด 29:


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
* [http://www.monstudies.com/show_content.php?topic_id=68&main_menu_id=3 อักษรมอญ]
* พจนานุกรมมอญ-ไทย ฉบับมอญสยาม. ศิลปวัฒนธรรม. 2548
* พจนานุกรมมอญ-ไทย ฉบับมอญสยาม. ศิลปวัฒนธรรม. 2548
* สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทย มาจากไหน. มติชน. 2548
* สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทย มาจากไหน. มติชน. 2548

== แหล่งข้อมูลอื่น==
{{อินคูเบเตอร์|mnw}}
* [http://www.youtube.com/watch?v=KG8kfSrJyks&list=PLKBKvKyx9n_uqUazoKB6vI3wGZ_bjjR5Y Easy Learning Mon]
* [http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=mnw Ethnologue เกี่ยวกับภาษามอญ]
* [http://www.monstudies.com/show_content.php?topic_id=158&main_menu_id=3 ภาษามอญ]


{{อักษรพราหมี}}
{{อักษรพราหมี}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:10, 1 สิงหาคม 2557

อักษรมอญและพม่า
พยัญชนะมอญและพม่า
က (k) (hk) (g) (gh) (ng)
(c) (hc) (j) (jh) (ny)
(t) (ht) (d) (dh) (n)
(t) (ht) (d) (dh) (n)
(y) (r) (l) (w) (s)
(h) (l) (b)* (a) (b)*
สระลอยพม่า
အ (a) ဣ (i) ဤ (ii) ဥ (u) ဦ (uu)
ဧ (e) ဩ (o) ဪ (au)
สระลอยมอญ
အ (a) အာ (aa) ဣ (i) (ii)*
ဥ (u) ဥႂ (uu) ၉ (e) အဲ (ua) ဩ (au)
(aau)* အံ (aom) အး (a:)
สระประสม
ဢာ (aa) ဢိ (i) ဢီ (ii) ဢု (u) ဢူ (uu)
ေဢ (e) ဢဲ (ua) ေဢာ (au)
เครื่องหมาย และอักขระพิเศษ
ဢံ (อนุนาสิก) ဢ့ (อนุสวาร)
ဢး (Visarga) ဢ္ (Virama)
၊ (Little Section) ။ (Section)
၌ (Locative) ၍ (Completed)
၏ (Genitive) ၎ (Aforementioned)
ၐ (sha) ၑ (ssa) ၒ (r) ၓ (rr) ၔ (l)
ၕ (ll) ၖ (r) ၗ (rr) ဢၘ (l) ဢၙ (ll)
ตัวเลข
၀၁၂၃၄၅၆၇၈၉ ดูที่เลขมอญ และเลขพม่า
* มีใช้เฉพาะในภาษามอญ ไม่มีในชุดอักษรพม่า
????? หน้านี้มีตัวอักษรพม่าที่อาจจะไม่แสดงผล ควรติดตั้งฟอนต์ยูนิโคด 5.1 สำหรับอักษรพม่า

อักษรมอญ พัฒนามาจากอักษรพราหมี ผ่านทางอักษรปัลลวะ และเป็นแม่แบบของอักษรอื่น เช่น อักษรพม่า อักษรไทย อักษรลาว อักษรล้านนา อักษรไทลื้อ และอักษรธรรมที่ใช้เขียนคัมภีร์ในอักษรธรรมล้านนาและอักษรธรรมลาว โปรดเข้าใจด้วยว่า อักษรพม่า นั้นไม่สามารถใช้แทน อักษรมอญได้ แต่อักษรมอญนั้น สามารถใช้แทน อักษรพม่าได้

ประวัติ

อักษรมอญโบราณพัฒนามาจากอักษรยุคหลังปัลลวะ (พุทธศตวรรษ 13-15) พบจารึกอักษรนี้ในเขตหริภุญชัย เช่นที่ เวียงมโน เวียงเถาะ รูปแบบของอักษรมอญต่างจากอักษรขอมที่พัฒนาจากอักษรในอินเดียใต้รุ่นเดียวกันคือ อักษรมอญตัดบ่าอักษรออกไป ทำให้รูปอักษรค่อนข้างกลม ส่วนอักษรขอมเปลี่ยนบ่าอักษรเป็นศกหรือหนามเตย

อักษรมอญ ที่เก่าแก่ที่สุดนั้น ค้นพบในประเทศไทย หลักฐานที่พบคือ จารึกวัดโพธิ์ร้าง พ.ศ. 1143 เป็นอักษรมอญโบราณที่เก่าแก่ที่สุด ในบรรดาจารึกภาษามอญที่ได้ค้นพบ ในแถบเอเชียอาคเนย์ทั้งหมด ปรากฏ เป็นจารึกที่เขียนด้วยตัวอักษรปัลลวะ ที่ยังไม่ได้ดัดแปลงให้เป็น อักษรมอญ และได้พบอักษรที่มอญประดิษฐ์เพิ่มขึ้น เพื่อให้พอกับเสียงในภาษามอญ แสดงว่า มอญใช้อักษรปัลลวะในการสื่อสาร อักษรที่ประดิษฐ์เพิ่มนี้ ยังได้พบในจารึกเสาแปดเหลี่ยมที่ศาลสูง เมืองลพบุรี ข้อความที่จารึกเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา สันนิษฐานว่า จารึกในพุทธศตวรรษที่ 13 ราว พ.ศ. 1314 อักษรจารึกในศิลาหลักนี้ เรียกว่า ตัวอักษรหลังปัลลวะ

สมัยกลาง
  1. จารึกในประเทศพม่าภาคเหนือ ส่วนมากได้จากเมืองพะขัน และเมืองแปร ศิลาจารึกเหล่านี้ สร้างขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าอโนรธา กษัตริย์พุกามประมาณ พ.ศ. 1600 เป็นต้นมา พม่ารับอักษรมอญมาใช้เขียนภาษาพม่าเป็นครั้งแรก
  2. ศิลาจารึกที่พบที่วัดแห่งหนึ่งในนครลำพูน ลักษณะอักษรเป็นจารึกในสมัยพุทธศตวรรษที่ 17 หรือ พุทธศตวรรษที่ 18
  3. จารึกในประเทศพม่าภาคใต้ เป็นจารึกของพระเจ้าธรรมเจดีย์ (พ.ศ. 2003-2034)

ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16-17 ตัวอักษรได้คลี่คลายจากตัวอักษรปัลลวะ มาเป็นตัวอักษรสีเหลี่ยมคือตัวอักษรที่เรียกว่าอักษรมอญโบราณและเปลี่ยนแปลงขนาดเล็กลงในระยะต่อมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 21 ก็ได้กลายเป็นอักษรมอญปัจจุบันซึ่งมีลักษณะกลม เกิดจากอิทธิพลของการจารหนังสือโดยใช้เหล็กจารลงบนใบลาน

สมัยปัจจุบัน
  • ภาษามอญปัจจุบัน เป็นภาษาในระยะพุทธศตวรรษที่ 21 เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน นับเป็นระยะเวลาประมาณ 400 ปีเศษ ในยุคนี้เป็นจารึกในใบลาน

ลักษณะ

พยัญชนะแบ่งเป็น 2 ชุดคือ พยัญชนะเสียงไม่ก้อง (อโฆษะ เสียงขุ่น) พื้นเสียงเป็นอะ พยัญชนะเสียงก้อง (โฆษะ เสียงใส) พื้นเสียงเป็นเอียะ เมื่อประสมสระ พยัญชนะต่างชุดกันออกเสียงต่างกัน มีรูปพยัญชนะซ้อน เมื่อเป็นตัวควบกล้ำ

ใช้เขียน

ยูนิโคด

อักษรมอญในยูนิโคด ใช้รหัสช่วงเดียวกันกับอักษรพม่า เพียงแต่มีส่วนขยายของอักษรมอญเพิ่มขึ้นมาจากอักษรพม่าตามปกติ

พม่า
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+100x က
U+101x
U+102x
U+103x
U+104x
U+105x
U+106x
U+107x
U+108x
U+109x


พม่า ส่วนขยาย-A
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+AA6x
U+AA7x        


อ้างอิง

  • อักษรมอญ
  • พจนานุกรมมอญ-ไทย ฉบับมอญสยาม. ศิลปวัฒนธรรม. 2548
  • สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทย มาจากไหน. มติชน. 2548

แหล่งข้อมูลอื่น