ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บาท (สกุลเงิน)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[Image:Thai money.jpg|right|thumbnail|250px|ธนบัตรและเหรียญเงินบาทไทย]]
[[Image:Thai money.jpg|right|thumbnail|250px|ธนบัตรและเหรียญเงินบาทไทย]]


'''เงินบาท''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Baht ; สัญลักษณ์: ฿ ; รหัสสากลตาม [[ISO 4217]]: THB) เป็นสกุล[[เงินตรา]]ประจำชาติของ[[ประเทศไทย]] เดิมคำว่า "บาท" เป็นหนึ่งในคำใช้เรียก[[หน่วยการชั่งน้ำหนักของไทย]] ปัจจุบันยังมีใช้ในความหมายเดิมอยู่บ้าง โดยเฉพาะในการซื้อขายทองคำ เช่น "ทองคำวันนี้ราคาขายบาทละ 8,400 บาท" หมายถึงทองคำหนักหนึ่งบาทสามารถขายได้ 8,400 บาท ในสมัยที่เริ่มใช้[[เหรียญกษาปณ์]]ครั้งแรก เงินเหรียญหนึ่งบาทนั้นเป็นเงินที่มีน้ำหนักหนึ่งบาทจริง ๆ ไม่ได้ทำด้วยทองแดงนิกเกิลเช่นในปัจจุบัน
'''เงินบาท''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Baht ; สัญลักษณ์: ฿ ; รหัสสากลตาม [[ISO 4217]]: THB) เป็นสกุล[[เงินตรา]]ประจำชาติของ[[ประเทศไทย]] เดิมคำว่า "บาท" เป็นหนึ่งในคำใช้เรียก[[หน่วยการชั่งน้ำหนักของไทย]] ปัจจุบันยังมีใช้ในความหมายเดิมอยู่บ้าง โดยเฉพาะในการซื้อขาย[[ทองคำ]] เช่น "ทองคำวันนี้ราคาขายบาทละ 8,400 บาท" หมายถึงทองคำหนักหนึ่งบาทสามารถขายได้ 8,400 บาท ในสมัยที่เริ่มใช้[[เหรียญกษาปณ์]]ครั้งแรก เงินเหรียญหนึ่งบาทนั้นเป็นเงินที่มีน้ำหนักหนึ่งบาทจริง ๆ ไม่ได้ทำด้วยทองแดงนิกเกิลเช่นในปัจจุบัน


[[ธนบัตร]]ที่ใช้แพร่หลายในปัจจุบันมี 5 แบบ คือ 1,000 บาท (สีเทา) 500 บาท (สีม่วง) 100 บาท (สีแดง) 50 บาท (สีน้ำเงิน) และ 20 บาท (สีเขียว) นอกจากนี้ก็มีธนบัตร 10 บาท (สีน้ำตาล) ซึ่งกลายเป็นของหายากในปัจจุบัน
[[ธนบัตร]]ที่ใช้แพร่หลายในปัจจุบันมี 5 แบบ คือ 1,000 บาท (สีเทา) 500 บาท (สีม่วง) 100 บาท (สีแดง) 50 บาท (สีน้ำเงิน) และ 20 บาท (สีเขียว) นอกจากนี้ก็มีธนบัตร 10 บาท (สีน้ำตาล) ซึ่งกลายเป็นของหายากในปัจจุบัน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:42, 21 กันยายน 2548

ไฟล์:Thai money.jpg
ธนบัตรและเหรียญเงินบาทไทย

เงินบาท (อังกฤษ: Baht ; สัญลักษณ์: ฿ ; รหัสสากลตาม ISO 4217: THB) เป็นสกุลเงินตราประจำชาติของประเทศไทย เดิมคำว่า "บาท" เป็นหนึ่งในคำใช้เรียกหน่วยการชั่งน้ำหนักของไทย ปัจจุบันยังมีใช้ในความหมายเดิมอยู่บ้าง โดยเฉพาะในการซื้อขายทองคำ เช่น "ทองคำวันนี้ราคาขายบาทละ 8,400 บาท" หมายถึงทองคำหนักหนึ่งบาทสามารถขายได้ 8,400 บาท ในสมัยที่เริ่มใช้เหรียญกษาปณ์ครั้งแรก เงินเหรียญหนึ่งบาทนั้นเป็นเงินที่มีน้ำหนักหนึ่งบาทจริง ๆ ไม่ได้ทำด้วยทองแดงนิกเกิลเช่นในปัจจุบัน

ธนบัตรที่ใช้แพร่หลายในปัจจุบันมี 5 แบบ คือ 1,000 บาท (สีเทา) 500 บาท (สีม่วง) 100 บาท (สีแดง) 50 บาท (สีน้ำเงิน) และ 20 บาท (สีเขียว) นอกจากนี้ก็มีธนบัตร 10 บาท (สีน้ำตาล) ซึ่งกลายเป็นของหายากในปัจจุบัน

เหรียญ 10 บาท เป็นเหรียญทองเหลืองที่มีทองแดงนิกเกิลล้อมรอบ และได้มีการออกเหรียญ 10 บาทสำหรับโอกาสพิเศษหลายแบบ เหรียญ 5 บาททำจากทองแดงนิกเกิลมีริมทองแดง เหรีญบาทเป็นทองแดงนิกเกิลเช่นกัน และเหรียญ 50 และ 25 สตางค์ทำจากทองเหลือง นอกจากนี้ยังมีเหรียญ 10, 5 และ 1 สตางค์ ทำจากอลูมีเนียม ใช้หมุนเวียนระหว่างธนาคาร เหรียญรุ่นเก่า (ซึ่งยังคงใช้อยู่) มีเฉพาะเลขไทย แต่รุ่นปัจจุบันมีเลขอารบิกด้วย เหรียญทุกชนิดมีพระบรมราชฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชอยู่บนด้านหนึ่ง เช่นเดียวกับธนบัตร

ประวัติศาสตร์

ระบบสกุลเงินไทยในปัจจุบัน ซึ่งเงิน หนึ่งบาท มีค่าเท่ากับ 100 สตางค์ เริ่มใช้ปี พ.ศ. 2440 ในสมัยรัชกาลที่ 5 ก่อนหน้านั้นเงินตราไทยใช้ระบบดังตารางต่อไปนี้

หน่วยเงิน มูลค่า วิธีการสะกดแบบอื่นในสมัยโบราณ
ชั่ง 80 บาท
ตำลึง 4 บาท
บาท
สลึง 1/4 บาท
เฟื้อง 1/8 บาท
ซีก 1/16 บาท สิ้ก
เสี้ยว หรือ ไพ 1/32 บาท เซี่ยว
อัฐ 1/64 บาท
โสฬส 1/128 บาท โสฬศ

แม่แบบ:สกุลเงิน