ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอพิเนฟรีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''อีพิเนฟริน''' ({{lang-en|epinephrine}}) หรือ '''อะดรีนาลีน''' ({{lang-en|adrenaline}}) หรือศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถานว่า '''ฮอร์โมนเนื้อในต่อมหมวกไต''' เป็น[[ฮอร์โมน]]และ[[สารสื่อประสาท]] อีพิเนฟรินและนอร์อีพิเนฟรินเป็นฮอร์โมนต่างชนิดแต่คล้ายกัน ซึ่งทั้งคู่หลั่งออกมาจากส่วนในของ[[ต่อมหมวกไต]] นอกจากนี้ ทั้งสองยังผลิตที่ปลายเส้นใยประสาท[[ซิมพาเทติก]] โดยทำหน้าที่เป็นตัวกลางเคมีสำหรับถ่ายทอดพลักผลักดันประสาทไปยังอวัยวะปฏิบัติงาน (effector organ) การสืบค้นทาง[[เภสัชวิทยา]]ของอีพิเนฟรินมีส่วนสำคัญทำให้เกิดความเข้าใจ[[ระบบประสาทอิสระ]]และหน้าที่ของระบบซิมพาเทติก อีพิเนฟรินยังเป็นยาที่มีประโยชน์สำหรับข้อบ่งใช้ฉุกเฉินหลายประการ แม้มีฤทธิ์ไม่จำเพาะต่อตัวรับอะดรีเนอจิก (adrenergic receptor) และมีการพัฒนายาจำเพาะหลายชนิดซึ่งออกฤทธิ์ต่อแบบชนิดย่อยของตัวรับอะดรีเนอจิกในเวลาต่อมา ในสำนวนพูดทั่วไป คำว่า "อะดรีนาลีน" ใช้หมายความถึง การปลุกฤทธิ์ระบบซิมพาเทติกซึ่งสัมพันธ์กับพลังงานและการเร้า[[fight-or-flight response|การสนองสู้หรือหนี]] อิทธิพลของอะดรีนาลีนจำกัดอยู่ในผลทางเมแทบอลิซึมและการขยายหลอดลมต่ออวัยวะซึ่งไม่มีการมีประสาทซิมพาเทติกไปเลี้ยงโดยตรง
'''อีพิเนฟริน''' ({{lang-en|epinephrine}}) หรือ '''อะดรีนาลีน''' ({{lang-en|adrenaline}}) หรือศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถานว่า '''ฮอร์โมนเนื้อในต่อมหมวกไต''' เป็น[[ฮอร์โมน]]และ[[สารสื่อประสาท]] อีพิเนฟรินและนอร์อีพิเนฟรินเป็นฮอร์โมนต่างชนิดแต่คล้ายกัน ซึ่งทั้งคู่หลั่งออกมาจากส่วนในของ[[ต่อมหมวกไต]] นอกจากนี้ ทั้งสองยังผลิตที่ปลายเส้นใยประสาท[[ซิมพาเทติก]] โดยทำหน้าที่เป็นตัวกลางเคมีสำหรับถ่ายทอดพลักผลักดันประสาทไปยังอวัยวะปฏิบัติงาน (effector organ) การสืบค้นทาง[[เภสัชวิทยา]]ของอีพิเนฟรินมีส่วนสำคัญทำให้เกิดความเข้าใจ[[ระบบประสาทอิสระ]]และหน้าที่ของระบบซิมพาเทติก อีพิเนฟรินยังเป็นยาที่มีประโยชน์สำหรับข้อบ่งใช้ฉุกเฉินหลายประการ แม้มีฤทธิ์ไม่จำเพาะต่อตัวรับอะดรีเนอจิก (adrenergic receptor) และมีการพัฒนายาจำเพาะหลายชนิดซึ่งออกฤทธิ์ต่อแบบชนิดย่อยของตัวรับอะดรีเนอจิกในเวลาต่อมา ในสำนวนพูดทั่วไป คำว่า "อะดรีนาลีน" ใช้หมายความถึง การปลุกฤทธิ์ระบบซิมพาเทติกซึ่งสัมพันธ์กับพลังงานและการเร้า[[fight-or-flight response|การสนองสู้หรือหนี]] อิทธิพลของอะดรีนาลีนจำกัดอยู่ในผลทาง[[เมแทบอลิซึม]]และ[[การขยายหลอดลม]]ต่ออวัยวะซึ่งไม่มีประสาทซิมพาเทติกไปเลี้ยงโดยตรง

ในทางเคมี อีพิเนฟรินเป็น[[monoamine|โมโนเอมีน]]กลุ่มหนึ่ง เรียก [[catecholamine|แคทีโคลามีน]] (catecholamine) ผลิตในบาง[[เซลล์ประสาท]]ของ[[ระบบประสาทส่วนกลาง]] และใน[[เซลล์โครมัฟฟิน]]ของ[[ต่อมหมวกไตส่วนใน]]จาก[[กรดอะมิโน]] [[ฟีนิลอะลานีน]]และ[[ไทโรซีน]]


[[หมวดหมู่:ฮอร์โมน]]
[[หมวดหมู่:ฮอร์โมน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:06, 16 กรกฎาคม 2557

อีพิเนฟริน (อังกฤษ: epinephrine) หรือ อะดรีนาลีน (อังกฤษ: adrenaline) หรือศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถานว่า ฮอร์โมนเนื้อในต่อมหมวกไต เป็นฮอร์โมนและสารสื่อประสาท อีพิเนฟรินและนอร์อีพิเนฟรินเป็นฮอร์โมนต่างชนิดแต่คล้ายกัน ซึ่งทั้งคู่หลั่งออกมาจากส่วนในของต่อมหมวกไต นอกจากนี้ ทั้งสองยังผลิตที่ปลายเส้นใยประสาทซิมพาเทติก โดยทำหน้าที่เป็นตัวกลางเคมีสำหรับถ่ายทอดพลักผลักดันประสาทไปยังอวัยวะปฏิบัติงาน (effector organ) การสืบค้นทางเภสัชวิทยาของอีพิเนฟรินมีส่วนสำคัญทำให้เกิดความเข้าใจระบบประสาทอิสระและหน้าที่ของระบบซิมพาเทติก อีพิเนฟรินยังเป็นยาที่มีประโยชน์สำหรับข้อบ่งใช้ฉุกเฉินหลายประการ แม้มีฤทธิ์ไม่จำเพาะต่อตัวรับอะดรีเนอจิก (adrenergic receptor) และมีการพัฒนายาจำเพาะหลายชนิดซึ่งออกฤทธิ์ต่อแบบชนิดย่อยของตัวรับอะดรีเนอจิกในเวลาต่อมา ในสำนวนพูดทั่วไป คำว่า "อะดรีนาลีน" ใช้หมายความถึง การปลุกฤทธิ์ระบบซิมพาเทติกซึ่งสัมพันธ์กับพลังงานและการเร้าการสนองสู้หรือหนี อิทธิพลของอะดรีนาลีนจำกัดอยู่ในผลทางเมแทบอลิซึมและการขยายหลอดลมต่ออวัยวะซึ่งไม่มีประสาทซิมพาเทติกไปเลี้ยงโดยตรง

ในทางเคมี อีพิเนฟรินเป็นโมโนเอมีนกลุ่มหนึ่ง เรียก แคทีโคลามีน (catecholamine) ผลิตในบางเซลล์ประสาทของระบบประสาทส่วนกลาง และในเซลล์โครมัฟฟินของต่อมหมวกไตส่วนในจากกรดอะมิโน ฟีนิลอะลานีนและไทโรซีน

แม่แบบ:Link GA