ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พญาไชยสงคราม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พรพัฒน์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Nednai.Lukmaenim (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''พญาไชยสงคราม''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-King Chaisongkhram.png|100px]]}}) เป็นพระมหากษัตริย์ใน[[ราชวงศ์มังราย]] แห่ง[[อาณาจักรล้านนา]]<ref>รุ่งพงษ์ ชัยนาม. '''ประวัติศาสตร์ล้านนา : ประวัติศาสตร์ไทยที่คนไทยไม่ค่อยมีโอกาสได้ศึกษา'''. [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]]</ref> ทรงครองราชย์ใน [[พ.ศ. 1854]] - [[พ.ศ. 1868|1868]] พญาไชยสงคราม เป็นพระราชโอรสของพญามังราย เสวยราชย์สืบสันตติวงศ์เป็นกษัตริย์ปกครองอาณาจักรล้านนา สืบต่อจากพระราชบิดา ในปีพุทธศักราช ๑๘๖๐ ขณะขึ้นเสวยราชย์พระองค์มีพระชนพรรษาได้ ๕๕ ปี พญาไชยสงครามนับเป็นปิยราชโอรส เพราะทรงเป็นเสมือนพระพาหาเบื้องขวาของพญามังรายพระราชบิดา ในการสถาปนาอาณาจักรล้านนาขึ้นในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ พระองค์ทรงเป็นนักรบที่เก่งกล้าสามารถ หลังจากที่ทรงมีชัยชนะต่อพญาเบิก เจ้าผู้ครองนครหริภุญชัย ในการยุทธครั้งใหญ่เมื่อปีพุทธศักราช ๑๘๓๙ แล้วพระราชบิดาก็สถาปนาให้เป็นมหาอุปราช และโปรดประทานเมืองเชียงดาวให้เป็นบำเหน็จรางวัลอีกด้วย
'''พญาไชยสงคราม''' ({{lang-nod|ᨻᩕ᩠ᨿᩣᨩᩱ᩠ᨿᩈᩫ᩠ᨦᨣᩕᩣ᩠ᨾ}}) เป็นพระมหากษัตริย์ใน[[ราชวงศ์มังราย]] แห่ง[[อาณาจักรล้านนา]]<ref>รุ่งพงษ์ ชัยนาม. '''ประวัติศาสตร์ล้านนา : ประวัติศาสตร์ไทยที่คนไทยไม่ค่อยมีโอกาสได้ศึกษา'''. [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]]</ref> ทรงครองราชย์ใน [[พ.ศ. 1854]] - [[พ.ศ. 1868|1868]] พญาไชยสงคราม เป็นพระราชโอรสของพญามังราย เสวยราชย์สืบสันตติวงศ์เป็นกษัตริย์ปกครองอาณาจักรล้านนา สืบต่อจากพระราชบิดา ในปีพุทธศักราช ๑๘๖๐ ขณะขึ้นเสวยราชย์พระองค์มีพระชนพรรษาได้ ๕๕ ปี พญาไชยสงครามนับเป็นปิยราชโอรส เพราะทรงเป็นเสมือนพระพาหาเบื้องขวาของพญามังรายพระราชบิดา ในการสถาปนาอาณาจักรล้านนาขึ้นในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ พระองค์ทรงเป็นนักรบที่เก่งกล้าสามารถ หลังจากที่ทรงมีชัยชนะต่อพญาเบิก เจ้าผู้ครองนครหริภุญชัย ในการยุทธครั้งใหญ่เมื่อปีพุทธศักราช ๑๘๓๙ แล้วพระราชบิดาก็สถาปนาให้เป็นมหาอุปราช และโปรดประทานเมืองเชียงดาวให้เป็นบำเหน็จรางวัลอีกด้วย


พระเจ้าไชยสงครามมีพระมเหสีหลายองค์ และมีพระราชบุตร ๓ พระองค์ คือ เจ้าท้าวแสนภู เจ้าท้าวน้ำท่วม เจ้าท้าวงั่ว พระราชบุตรทั้งสามนี้เมื่อทรงจำเริญวัยขึ้นแล้ว พระบิดาได้ส่งเข้ามาเล่าเรียนศึกษาศิลปะวิทยาการและราชประเพณีในราชสำนักของ พญามังรายผู้เป็นพระอัยกา ซึ่งพญามังรายก็ได้มีพระกรุณาแก่พระนัดดาทั้งสามเป็นอย่างยิ่ง
พระเจ้าไชยสงครามมีพระมเหสีหลายองค์ และมีพระราชบุตร ๓ พระองค์ คือ เจ้าท้าวแสนภู เจ้าท้าวน้ำท่วม เจ้าท้าวงั่ว พระราชบุตรทั้งสามนี้เมื่อทรงจำเริญวัยขึ้นแล้ว พระบิดาได้ส่งเข้ามาเล่าเรียนศึกษาศิลปะวิทยาการและราชประเพณีในราชสำนักของ พญามังรายผู้เป็นพระอัยกา ซึ่งพญามังรายก็ได้มีพระกรุณาแก่พระนัดดาทั้งสามเป็นอย่างยิ่ง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:41, 2 กรกฎาคม 2557

พญาไชยสงคราม (ไทยถิ่นเหนือ: ᨻᩕ᩠ᨿᩣᨩᩱ᩠ᨿᩈᩫ᩠ᨦᨣᩕᩣ᩠ᨾ) เป็นพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์มังราย แห่งอาณาจักรล้านนา[1] ทรงครองราชย์ใน พ.ศ. 1854 - 1868 พญาไชยสงคราม เป็นพระราชโอรสของพญามังราย เสวยราชย์สืบสันตติวงศ์เป็นกษัตริย์ปกครองอาณาจักรล้านนา สืบต่อจากพระราชบิดา ในปีพุทธศักราช ๑๘๖๐ ขณะขึ้นเสวยราชย์พระองค์มีพระชนพรรษาได้ ๕๕ ปี พญาไชยสงครามนับเป็นปิยราชโอรส เพราะทรงเป็นเสมือนพระพาหาเบื้องขวาของพญามังรายพระราชบิดา ในการสถาปนาอาณาจักรล้านนาขึ้นในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ พระองค์ทรงเป็นนักรบที่เก่งกล้าสามารถ หลังจากที่ทรงมีชัยชนะต่อพญาเบิก เจ้าผู้ครองนครหริภุญชัย ในการยุทธครั้งใหญ่เมื่อปีพุทธศักราช ๑๘๓๙ แล้วพระราชบิดาก็สถาปนาให้เป็นมหาอุปราช และโปรดประทานเมืองเชียงดาวให้เป็นบำเหน็จรางวัลอีกด้วย

พระเจ้าไชยสงครามมีพระมเหสีหลายองค์ และมีพระราชบุตร ๓ พระองค์ คือ เจ้าท้าวแสนภู เจ้าท้าวน้ำท่วม เจ้าท้าวงั่ว พระราชบุตรทั้งสามนี้เมื่อทรงจำเริญวัยขึ้นแล้ว พระบิดาได้ส่งเข้ามาเล่าเรียนศึกษาศิลปะวิทยาการและราชประเพณีในราชสำนักของ พญามังรายผู้เป็นพระอัยกา ซึ่งพญามังรายก็ได้มีพระกรุณาแก่พระนัดดาทั้งสามเป็นอย่างยิ่ง

เมื่อพญาไชยสงครามได้ขึ้นครองราชย์สมบัติแล้ว ก็ทรงจัดการบ้านเมืองในเมืองเชียงใหม่ได้ ๔ เดือน พระองค์ไม่โปรดที่จะประทับอยู่ ณ เมืองเชียงใหม่ จึงได้สถาปนาให้เจ้าท้าวแสนภูพระราชบุตรองค์โตขึ้นครองเมืองเชียงใหม่ ในยุคนี้เมืองเชียงใหม่ได้ลดฐานะเป็นเพียงเมืองลูกหลวง พญาไชยสงครามองค์พระประมุขทรงย้ายราชธานีไปอยู่ที่เมืองเชียงราย และทรงแต่งตั้งให้เจ้าท้าวน้ำท่วมพระราชบุตรองค์กลางไปครองเมืองฝาง ให้พระราชบุตรองค์เล็กคือเจ้าท้าวงั่วไปครองเมืองเชียงของ

อ้างอิง

  1. รุ่งพงษ์ ชัยนาม. ประวัติศาสตร์ล้านนา : ประวัติศาสตร์ไทยที่คนไทยไม่ค่อยมีโอกาสได้ศึกษา. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ก่อนหน้า พญาไชยสงคราม ถัดไป
พญามังราย
ราชวงศ์มังราย
กษัตริย์อาณาจักรล้านนา
(พ.ศ. 1854 - พ.ศ. 1868)
พญาแสนภู
ราชวงศ์มังราย