ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 47: บรรทัด 47:


== ประวัติ==
== ประวัติ==
พรรคคอมมิวนิสต์มีอิทธิพลในเชโกสโลวาเกียมาโดยตลอด จนกระทั่งในช่วงปลายทศวรรษที่ 60 ได้เริ่มมีการเคลื่อนไหวเพื่อการปฏิรูป ที่เรียกว่า [[ช่วงฤดูใบไม้ผลิแห่งกรุงปราก]] (Prague Spring) ภายใต้การนำของนาย[[อเล็กซานเดอร์ ดูบเชค]] (Alexander Dubček) เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ [[สหภาพโซเวียต]] และประเทศอื่นในกลุ่มกติกา[[สนธิสัญญาวอร์ซอ]] (Warsaw Pact) เกรงว่าความเคลื่อนไหวดังกล่าวจะเป็นภัยคุกคามต่อระบบคอมมิวนิสต์ จึงได้ยกกองกำลังเข้าไปในเชโกสโลวาเกียเมื่อปี 2511 และจัดตั้งระบบคอมมิวนิสต์ที่เข้มงวดขึ้น อย่างไรก็ตาม ยังคงมีแนวคิดต่อต้านระบบคอมมิวนิสต์ในเช็กโกสโลวาเกีย
พรรคคอมมิวนิสต์มีอิทธิพลในเชโกสโลวาเกียมาโดยตลอด จนกระทั่งในช่วงปลายทศวรรษที่ 60 ได้เริ่มมีการเคลื่อนไหวเพื่อการปฏิรูป ที่เรียกว่า [[ช่วงฤดูใบไม้ผลิแห่งกรุงปราก]] (Prague Spring) ภายใต้การนำของนาย[[อเล็กซานเดอร์ ดูบเชค]] (Alexander Dubček) เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ [[สหภาพโซเวียต]] และประเทศอื่นในกลุ่มกติกา[[สนธิสัญญาวอร์ซอ]] (Warsaw Pact) เกรงว่าความเคลื่อนไหวดังกล่าวจะเป็นภัยคุกคามต่อระบบคอมมิวนิสต์[[การบุกครองเชโกสโลวาเกียของสนธิสัญญาวอร์ซอ| จึงได้ยกกองกำลังเข้าไปในเชโกสโลวาเกียเมื่อปี 2511]]และจัดตั้งระบบคอมมิวนิสต์ที่เข้มงวดขึ้น อย่างไรก็ตาม ยังคงมีแนวคิดต่อต้านระบบคอมมิวนิสต์ในเช็กโกสโลวาเกีย


หลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลายลง เชโกสโลวะเกียได้เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยอย่างสันติ โดยผ่านกระบวนการที่เรียกว่า การปฏิวัติเวลเวต (Velvet Revolution) และนายวาคลัฟ ฮาเวล (Václav Havel) ซึ่งเป็นผู้นำกลุ่มเคลื่อนไหวต่อต้านระบบคอมมิวนิสต์ ได้รับเลือกตั้งให้เป็นประธานาธิบดีเชโกสโลวาเกียในปี 2532
หลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลายลง เชโกสโลวะเกียได้เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยอย่างสันติ โดยผ่านกระบวนการที่เรียกว่า การปฏิวัติเวลเวต (Velvet Revolution) และนายวาคลัฟ ฮาเวล (Václav Havel) ซึ่งเป็นผู้นำกลุ่มเคลื่อนไหวต่อต้านระบบคอมมิวนิสต์ ได้รับเลือกตั้งให้เป็นประธานาธิบดีเชโกสโลวาเกียในปี 2532

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:45, 21 มิถุนายน 2557

สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก

Československá socialistická republika
1948–1989
คำขวัญ"Pravda vítězí" (เช็ก)
"Truth prevails"
ที่ตั้งของเชโกสโลวาเกีย
เมืองหลวงปราก
ภาษาทั่วไปภาษาเช็ก
ภาษาสโลวัก
การปกครองMarxist–Leninist single-party state
Federal system
ประธานาธิบดี 
• 1948-1953 (คนแรก)
Klement Gottwald
• 1975-1989 (คนสุดท้าย)
Gustáv Husák
เลขาธิการพรรค 
• 1948-1953 (คนแรก)
Klement Gottwald
• 1989 (คนสุดท้าย)
Karel Urbánek
ยุคประวัติศาสตร์สงครามเย็น
• ก่อตั้ง
1948
9 May 1948
มีนาคม 1989
พื้นที่
1992127,900 ตารางกิโลเมตร (49,400 ตารางไมล์)
ประชากร
• 1992
15600000
สกุลเงินโครูนาเชโกสโลวาเกีย
ก่อนหน้า
ถัดไป
สาธารณรัฐเชโกสโลวัก
สหพันธสาธารณรัฐเชโกสโลวัก

สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก(เช็กและสโลวัก: Československá socialistická republika)เป็นรัฐคอมมิวนิสต์ตั่งแต่ ค.ศ1948 ถึง ค.ศ.1989

ประวัติ

พรรคคอมมิวนิสต์มีอิทธิพลในเชโกสโลวาเกียมาโดยตลอด จนกระทั่งในช่วงปลายทศวรรษที่ 60 ได้เริ่มมีการเคลื่อนไหวเพื่อการปฏิรูป ที่เรียกว่า ช่วงฤดูใบไม้ผลิแห่งกรุงปราก (Prague Spring) ภายใต้การนำของนายอเล็กซานเดอร์ ดูบเชค (Alexander Dubček) เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ สหภาพโซเวียต และประเทศอื่นในกลุ่มกติกาสนธิสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact) เกรงว่าความเคลื่อนไหวดังกล่าวจะเป็นภัยคุกคามต่อระบบคอมมิวนิสต์ จึงได้ยกกองกำลังเข้าไปในเชโกสโลวาเกียเมื่อปี 2511และจัดตั้งระบบคอมมิวนิสต์ที่เข้มงวดขึ้น อย่างไรก็ตาม ยังคงมีแนวคิดต่อต้านระบบคอมมิวนิสต์ในเช็กโกสโลวาเกีย

หลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลายลง เชโกสโลวะเกียได้เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยอย่างสันติ โดยผ่านกระบวนการที่เรียกว่า การปฏิวัติเวลเวต (Velvet Revolution) และนายวาคลัฟ ฮาเวล (Václav Havel) ซึ่งเป็นผู้นำกลุ่มเคลื่อนไหวต่อต้านระบบคอมมิวนิสต์ ได้รับเลือกตั้งให้เป็นประธานาธิบดีเชโกสโลวาเกียในปี 2532

รัฐบาลเชโกสโลวะเกียได้มีมติเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2536 ให้สลายประเทศเชโกสโลวาเกีย และแบ่งออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและสาธารณรัฐสโลวัก (สโลวาเกีย) ซึ่งเป็นกระบวนการที่เรียกว่า Velvet Divorce ต่อมา นายวาคลัฟ ฮาเวลได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐเช็กในปี 2536 และได้รับเลือกตั้งเป็นครั้งที่ 2 ในปี 2541 จนกระทั่งหมดวาระ (วาระละ 5 ปี) เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2546 และนายวาคลัฟ เคลาอุส (Vaclav Klaus) ได้เข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีสืบต่อ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2546

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น