ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัครมุขนายก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{ใช้ปีคศ|width=260px}}
{{ใช้ปีคศ|width=260px}}
[[ไฟล์:Archbishop Francis Xavier Keangsak Kowit Vanit 1.JPG|200px|thumb|rigth|'''พระคุณเจ้าฟรังซิสเซเวียร์ [[เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช]]''' อัครมุขนายก[[เขตมิสซังกรุงเทพฯ|มิสซังคาทอลิกกรุงเทพฯ]]องค์ปัจจุบัน<ref> [http://haab.catholic.or.th/PhotoAlbum/].เรียกข้อมูลวันที่ [[5 ตุลาคม|5 ต.ค.]] [[พ.ศ. 2553|2553]].</ref>]]
[[ไฟล์:Archbishop Francis Xavier Keangsak Kowit Vanit 1.JPG|200px|thumb|rigth|'''พระคุณเจ้าฟรังซิสเซเวียร์ [[เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช]]''' อัครมุขนายก[[เขตมิสซังกรุงเทพฯ|มิสซังคาทอลิกกรุงเทพฯ]]องค์ปัจจุบัน<ref> [http://haab.catholic.or.th/PhotoAlbum/].เรียกข้อมูลวันที่ [[5 ตุลาคม|5 ต.ค.]] [[พ.ศ. 2553|2553]].</ref>]]
'''อาร์ชบิชอป'''<ref>CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: Archbishop[http://www.newadvent.org/cathen/01691a.htm]</ref> ({{lang-en|Archbishop}}) หรือ'''อัครมุขนายก'''<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''ราชวงศ์แห่งมหาอำนาจยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ : กษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถ'', 2556, หน้า 419</ref> ชาวไทยคาทอลิกเรียกว่า'''พระอัครสังฆราช''' เป็นตำแหน่งการปกครองภายใน[[คริสตจักร]]บางนิกาย มีสถานะเหนือกว่า[[มุขนายก]]<ref name="รายงานการศาสนา ประจำปี ๒๕๔๓">กรมการศาสนา, ''รายงานการศาสนา ประจำปี ๒๕๔๓'', กรมการศาสนา, 2543, หน้า 194-6</ref> (bishop) พบทั้งในนิกาย[[โรมันคาทอลิก]] [[แองกลิคัน]] และอื่น ๆ การเป็นอัครมุขนายกหมายถึงการได้ปกครอง'''อัครมุขมณฑล''' (archdiocese)<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, 2552, หน้า 145</ref> ซึ่งเป็น[[มุขมณฑล]]ที่มีความสำคัญเป็นกรณีพิเศษ หรือในกรณีของ[[แองกลิคันคอมมิวเนียน]]ก็จะหมายถึงกลุ่ม[[มุขมณฑล]]ที่รวมกันเป็น[[ภาคคริสตจักร]] เช่น [[ภาคแคนเทอร์เบอรี]]ที่ปกครองโดย[[อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี]] แต่ก็ไม่เป็นเช่นนั้นเสมอไป
'''อาร์ชบิชอป''' ({{lang-en|Archbishop}}) หรือ'''อัครมุขนายก'''<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''ราชวงศ์แห่งมหาอำนาจยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ : กษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถ'', 2556, หน้า 419</ref> ชาวไทยคาทอลิกเรียกว่า'''พระอัครสังฆราช''' เป็นตำแหน่งการปกครองระดับสูงในบาง[[คริสตจักร]]ที่มี[[การจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล]] เช่น [[โรมันคาทอลิก]] [[ออร์ทอดอกซ์]] [[แองกลิคัน]] ถือว่ามีสถานะเหนือกว่า[[มุขนายก]]<ref name="รายงานการศาสนา ประจำปี ๒๕๔๓">กรมการศาสนา, ''รายงานการศาสนา ประจำปี ๒๕๔๓'', กรมการศาสนา, 2543, หน้า 194-6</ref> (bishop) การเป็นอัครมุขนายกหมายถึงการได้ปกครอง'''อัครมุขมณฑล''' (archdiocese)<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, 2552, หน้า 145</ref> ซึ่งเป็น[[มุขมณฑล]]ที่มีความสำคัญเป็นกรณีพิเศษ หรือในกรณีของ[[แองกลิคันคอมมิวเนียน]]จะหมายถึงกลุ่ม[[มุขมณฑล]]ที่รวมกันเป็น[[ภาคคริสตจักร]] เช่น [[ภาคแคนเทอร์เบอรี]]ที่ปกครองโดย[[อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี]] แต่ก็ไม่เป็นเช่นนั้นเสมอไป


“อัครมุขนายก” มีฐานะเท่าเทียมกับมุขนายกในด้านการศาสนาแต่มีอภิสิทธิ์บางอย่างมากกว่า ฉะนั้นถ้าผู้ที่เป็นมุขนายกอยู่แล้วได้รับการแต่งตั้ง (appointment) เป็นอัครมุขนายกก็ไม่จำเป็นต้องรับ[[การอภิเษก]] (consecration) อีก มีแต่พิธีเข้ารับตำแหน่ง (installation) แต่ถ้าผู้ที่ได้รับตำแหน่งไม่ได้เป็นมุขนายกมาก่อน ผู้นั้นก็ต้องเข้าพิธีอภิเษกเพื่อรับ[[ศีลอนุกรม]]เสียก่อนที่จะทำหน้าที่เป็นอัครมุขนายก
“อัครมุขนายก” มีฐานะเท่าเทียมกับมุขนายกในด้านการศาสนา แต่มีอภิสิทธิ์บางอย่างมากกว่า ฉะนั้นถ้าผู้ที่เป็นมุขนายกอยู่แล้วได้รับการแต่งตั้ง (appointment) เป็นอัครมุขนายกก็ไม่จำเป็นต้องรับ[[การอภิเษก]] (consecration) อีก มีแต่พิธีเข้ารับตำแหน่ง (installation) แต่ถ้าผู้ที่ได้รับตำแหน่งไม่ได้เป็นมุขนายกมาก่อน ผู้นั้นก็ต้องเข้าพิธีอภิเษกเพื่อรับ[[ศีลอนุกรม]]เสียก่อนที่จะทำหน้าที่เป็นอัครมุขนายก


คำว่า “Archbishop” มาจาก[[ภาษากรีก]]ว่า “αρχι” ที่แปลว่า “ที่หนึ่ง” หรือ “หัวหน้า” และคำว่า “επισκοπος” ที่แปลว่า “ปกครองดูแล”
คำว่า “Archbishop” มาจาก[[ภาษากรีก]]ว่า “αρχι” ที่แปลว่า “ที่หนึ่ง” หรือ “หัวหน้า” และคำว่า “επισκοπος” ที่แปลว่า “ปกครองดูแล”


“อัครมุขนายก” ปกครอง “[[อัครมุขมณฑล]]” หรือภาคคริสตจักร ถ้าเป็นในสมัยโบราณโดยเฉพาะในสมัย[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] อัครมุขนายกก็จะปกครอง “รัฐอัครมุขนายก” เช่น [[อาร์ชบิชอปแห่งไมนซ์]] (Archbishop of Mainz) ผู้ปกครอง “[[รัฐผู้คัดเลือกไมนซ์|ราชรัฐอัครมุขนายกไมนซ์]]” (Archbishopric of Mainz)
“อัครมุขนายก” ปกครอง “[[อัครมุขมณฑล]]” หรือภาคคริสตจักร ถ้าเป็นในสมัยโบราณโดยเฉพาะในสมัย[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] อัครมุขนายกก็จะปกครอง “รัฐอัครมุขนายก” เช่น [[อาร์ชบิชอปแห่งไมนซ์]] (Archbishop of Mainz) ผู้ปกครอง “[[รัฐผู้คัดเลือกไมนซ์|ราชรัฐอัครมุขนายกไมนซ์]]” (Archbishopric of Mainz)

== ประวัติ ==
ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าตำแหน่งอาร์ชบิชอปอย่างที่ใช้ในปัจจุบันเริ่มมีขึ้นตั้งแต่เมื่อไร หลักฐานเก่าที่สุดปรากฏในกฤษฎีกา[[สังคายนาไนเซียครั้งที่หนึ่ง]]และซีนอดที่แอนติออก ว่ามี "[[มุขนายกมหานคร|เมโทรโพลิทัน]]" ทำหน้าที่ประธานคณะมุขนายกในแต่ละ[[มณฑลของโรมัน]] จนถึงราวคริสต์ศตวรรษที่ 5 เมโทรโพลิทันจึงถือว่าสูงกว่ามุขนายก แต่ต่ำกว่า[[อัครบิดร]] และใช้คำว่า "อาร์ชบิชอป" อย่างในปัจจุบันมาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 6<ref>[http://www.newadvent.org/cathen/01691a.htm CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: Archbishop]</ref>


== ประเภท ==
== ประเภท ==
นิกาย[[โรมันคาทอลิก]] แบ่งอัครมุขนายกออกเป็น ประเภท คือ
นิกาย[[โรมันคาทอลิก]] แบ่งอัครมุขนายกออกเป็น 2 ประเภท คือ
*อัคร[[มุขนายกมหานคร]] (Metropolitan archbishop) คือ อัครมุขนายกที่มีอำนาจปกครองอัครมุขมณฑลและ[[ภาคคริสตจักร]]
*อัคร[[มุขนายกมหานคร]] (Metropolitan archbishop) คือ อัครมุขนายกที่มีอำนาจปกครองอัครมุขมณฑลและ[[ภาคคริสตจักร]]


บรรทัด 23: บรรทัด 26:
ในปี ค.ศ. 1965 [[สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 6]] ได้ยกสถานะมิสซังคาทอลิกทั้ง 6 แห่งในประเทศไทยขึ้นเป็น[[มุขมณฑล]] โดย[[เขตมิสซังกรุงเทพฯ]] และ[[เขตมิสซังท่าแร่-หนองแสง]]ได้เป็นอัครมุขมณฑล และให้ประมุขของทั้งสองมิสซังมีสมณศักดิ์เป็นอัครมุขนายก โดยพระคุณเจ้ายอแซฟ [[ยวง นิตโย]] ประมุขมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ และพระคุณเจ้ามีคาแอล [[เกี้ยน เสมอพิทักษ์]] ประมุขมิสซังโรมันคาทอลิกท่าแร่-หนองแสง เป็น[[บาทหลวง]]ไทยสององค์แรกที่ได้รับ[[การแต่งตั้ง]]เป็นอัครมุขนายก<ref>Luc Colla, เรือง อาภรณ์รัตน์ และอากาทา จิตอุทัศน์ ผู้แปล, พระคริสตเจ้าและพระศาสนจักรของพระองค์, 2535, หน้า 51</ref>
ในปี ค.ศ. 1965 [[สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 6]] ได้ยกสถานะมิสซังคาทอลิกทั้ง 6 แห่งในประเทศไทยขึ้นเป็น[[มุขมณฑล]] โดย[[เขตมิสซังกรุงเทพฯ]] และ[[เขตมิสซังท่าแร่-หนองแสง]]ได้เป็นอัครมุขมณฑล และให้ประมุขของทั้งสองมิสซังมีสมณศักดิ์เป็นอัครมุขนายก โดยพระคุณเจ้ายอแซฟ [[ยวง นิตโย]] ประมุขมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ และพระคุณเจ้ามีคาแอล [[เกี้ยน เสมอพิทักษ์]] ประมุขมิสซังโรมันคาทอลิกท่าแร่-หนองแสง เป็น[[บาทหลวง]]ไทยสององค์แรกที่ได้รับ[[การแต่งตั้ง]]เป็นอัครมุขนายก<ref>Luc Colla, เรือง อาภรณ์รัตน์ และอากาทา จิตอุทัศน์ ผู้แปล, พระคริสตเจ้าและพระศาสนจักรของพระองค์, 2535, หน้า 51</ref>


ปัจจุบัน ในประเทศไทยมีอัคร[[มุขนายกมหานคร]] องค์ คือ พระคุณเจ้าฟรังซิสเซเวียร์ [[เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช]] อัครมุขนายกมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ และพระคุณเจ้าหลุยส์ [[จำเนียร สันติสุขนิรันดร์]] ประมุขมิสซังโรมันคาทอลิกท่าแร่-หนองแสง และมีอัครมุขนายกกิตติคุณ องค์ คือ [[พระคาร์ดินัล]]ไมเกิ้ล [[มีชัย กิจบุญชู]] อัครมุขนายกกิตติคุณมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ
ปัจจุบัน ในประเทศไทยมีอัคร[[มุขนายกมหานคร]] 2 องค์ คือ พระคุณเจ้าฟรังซิสเซเวียร์ [[เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช]] อัครมุขนายกมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ และพระคุณเจ้าหลุยส์ [[จำเนียร สันติสุขนิรันดร์]] ประมุขมิสซังโรมันคาทอลิกท่าแร่-หนองแสง และมีอัครมุขนายกกิตติคุณ 1 องค์ คือ [[พระคาร์ดินัล]]ไมเกิ้ล [[มีชัย กิจบุญชู]] อัครมุขนายกกิตติคุณมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:57, 4 มิถุนายน 2557

ไฟล์:Archbishop Francis Xavier Keangsak Kowit Vanit 1.JPG
พระคุณเจ้าฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช อัครมุขนายกมิสซังคาทอลิกกรุงเทพฯองค์ปัจจุบัน[1]

อาร์ชบิชอป (อังกฤษ: Archbishop) หรืออัครมุขนายก[2] ชาวไทยคาทอลิกเรียกว่าพระอัครสังฆราช เป็นตำแหน่งการปกครองระดับสูงในบางคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก ออร์ทอดอกซ์ แองกลิคัน ถือว่ามีสถานะเหนือกว่ามุขนายก[3] (bishop) การเป็นอัครมุขนายกหมายถึงการได้ปกครองอัครมุขมณฑล (archdiocese)[4] ซึ่งเป็นมุขมณฑลที่มีความสำคัญเป็นกรณีพิเศษ หรือในกรณีของแองกลิคันคอมมิวเนียนจะหมายถึงกลุ่มมุขมณฑลที่รวมกันเป็นภาคคริสตจักร เช่น ภาคแคนเทอร์เบอรีที่ปกครองโดยอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี แต่ก็ไม่เป็นเช่นนั้นเสมอไป

“อัครมุขนายก” มีฐานะเท่าเทียมกับมุขนายกในด้านการศาสนา แต่มีอภิสิทธิ์บางอย่างมากกว่า ฉะนั้นถ้าผู้ที่เป็นมุขนายกอยู่แล้วได้รับการแต่งตั้ง (appointment) เป็นอัครมุขนายกก็ไม่จำเป็นต้องรับการอภิเษก (consecration) อีก มีแต่พิธีเข้ารับตำแหน่ง (installation) แต่ถ้าผู้ที่ได้รับตำแหน่งไม่ได้เป็นมุขนายกมาก่อน ผู้นั้นก็ต้องเข้าพิธีอภิเษกเพื่อรับศีลอนุกรมเสียก่อนที่จะทำหน้าที่เป็นอัครมุขนายก

คำว่า “Archbishop” มาจากภาษากรีกว่า “αρχι” ที่แปลว่า “ที่หนึ่ง” หรือ “หัวหน้า” และคำว่า “επισκοπος” ที่แปลว่า “ปกครองดูแล”

“อัครมุขนายก” ปกครอง “อัครมุขมณฑล” หรือภาคคริสตจักร ถ้าเป็นในสมัยโบราณโดยเฉพาะในสมัยจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ อัครมุขนายกก็จะปกครอง “รัฐอัครมุขนายก” เช่น อาร์ชบิชอปแห่งไมนซ์ (Archbishop of Mainz) ผู้ปกครอง “ราชรัฐอัครมุขนายกไมนซ์” (Archbishopric of Mainz)

ประวัติ

ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าตำแหน่งอาร์ชบิชอปอย่างที่ใช้ในปัจจุบันเริ่มมีขึ้นตั้งแต่เมื่อไร หลักฐานเก่าที่สุดปรากฏในกฤษฎีกาสังคายนาไนเซียครั้งที่หนึ่งและซีนอดที่แอนติออก ว่ามี "เมโทรโพลิทัน" ทำหน้าที่ประธานคณะมุขนายกในแต่ละมณฑลของโรมัน จนถึงราวคริสต์ศตวรรษที่ 5 เมโทรโพลิทันจึงถือว่าสูงกว่ามุขนายก แต่ต่ำกว่าอัครบิดร และใช้คำว่า "อาร์ชบิชอป" อย่างในปัจจุบันมาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 6[5]

ประเภท

นิกายโรมันคาทอลิก แบ่งอัครมุขนายกออกเป็น 2 ประเภท คือ

ในประเทศไทย

ในปี ค.ศ. 1965 สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 6 ได้ยกสถานะมิสซังคาทอลิกทั้ง 6 แห่งในประเทศไทยขึ้นเป็นมุขมณฑล โดยเขตมิสซังกรุงเทพฯ และเขตมิสซังท่าแร่-หนองแสงได้เป็นอัครมุขมณฑล และให้ประมุขของทั้งสองมิสซังมีสมณศักดิ์เป็นอัครมุขนายก โดยพระคุณเจ้ายอแซฟ ยวง นิตโย ประมุขมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ และพระคุณเจ้ามีคาแอล เกี้ยน เสมอพิทักษ์ ประมุขมิสซังโรมันคาทอลิกท่าแร่-หนองแสง เป็นบาทหลวงไทยสององค์แรกที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นอัครมุขนายก[6]

ปัจจุบัน ในประเทศไทยมีอัครมุขนายกมหานคร 2 องค์ คือ พระคุณเจ้าฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช อัครมุขนายกมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ และพระคุณเจ้าหลุยส์ จำเนียร สันติสุขนิรันดร์ ประมุขมิสซังโรมันคาทอลิกท่าแร่-หนองแสง และมีอัครมุขนายกกิตติคุณ 1 องค์ คือ พระคาร์ดินัลไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู อัครมุขนายกกิตติคุณมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ

อ้างอิง

  1. [1].เรียกข้อมูลวันที่ 5 ต.ค. 2553.
  2. ราชบัณฑิตยสถาน, ราชวงศ์แห่งมหาอำนาจยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ : กษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถ, 2556, หน้า 419
  3. กรมการศาสนา, รายงานการศาสนา ประจำปี ๒๕๔๓, กรมการศาสนา, 2543, หน้า 194-6
  4. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, 2552, หน้า 145
  5. CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: Archbishop
  6. Luc Colla, เรือง อาภรณ์รัตน์ และอากาทา จิตอุทัศน์ ผู้แปล, พระคริสตเจ้าและพระศาสนจักรของพระองค์, 2535, หน้า 51

ดูเพิ่ม