ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท้าววิรุฬหก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thep~thwiki (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ตัวสะกด
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
{{สั้นมาก}}
[[ไฟล์:Jikoji zochoten.JPG|thumb|โซโจเท็น (ท้าววิรุฬหก), วัดจิโกจิ, ทะคะซะโง, [[จังหวัดเฮียวโงะ]], [[ญี่ปุ่น]]]]
[[ไฟล์:Jikoji zochoten.JPG|thumb|โซโจเท็น (ท้าววิรุฬหก), วัดจิโกจิ, ทะคะซะโง, [[จังหวัดเฮียวโงะ]], [[ญี่ปุ่น]]]]
'''ท้าววิรุฬหก'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 316</ref> ({{lang-pi|Viruḷhaka}}; {{lang-sa|विरूढक}}) หนึ่งในสี่[[จาตุมหาราช]] เป็นเทพเจ้าผู้ปกครองทิศใต้ของ[[เขาพระสุเมรุ]] มีเทพกลุ่ม[[กุมภัณฑ์]]เป็นบริวาร มีรูปร่างท้องป่องพุ่งใหญ่ ขาสั้น กำยำล่ำสัน ตามความเชื่อบางคติจะพบได้ว่าท้าววิรุฬหกคือผู้ปกครองครุฑและนก
'''ท้าววิรุฬหก'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 316</ref> ({{lang-pi|Viruḷhaka}}; {{lang-sa|विरूढक}}) หนึ่งในสี่ผู้ปกครองสวรรค์ชั้น""จาตุมหาราชิกา"" ซึ่งเป็นชั้นล่างสุดในไตรภูมิพระร่วง เป็นเทพเจ้าผู้ปกครองทิศใต้ของ[[เขาพระสุเมรุ]] ซึ่งเป็นทีใหญ่ในหมู่""ครุฑ"" มีเทพกลุ่ม[[กุมภัณฑ์]]เป็นบริวาร มีรูปร่างท้องป่องพุ่งใหญ่ ขาสั้น กำยำล่ำสัน ตามความเชื่อบางคติจะพบได้ว่าท้าววิรุฬหกคือผู้ปกครองครุฑและนก


ในมหาสมัยสูตรและบทภาณยักษ์ว่า โลกบาลแห่งทิศทักษิณทรงพระนามท้าววิรุฬหกมหาราช จอมกุมภัณฑ์ ส่วนใน[[อาฏานาฏิยปริตร]]ว่าเป็นจอมเทวดา ลัทธิข้างจีนฝ่ายมหายานว่า ทรงพระนามเตียงเชียง แปลว่า สง่างาม มือถือร่ม ทางทิเบตว่าถือกระบี่
ในมหาสมัยสูตรและบทภาณยักษ์ว่า โลกบาลแห่งทิศทักษิณทรงพระนามท้าววิรุฬหกมหาราช จอมกุมภัณฑ์ ส่วนใน[[อาฏานาฏิยปริตร]]ว่าเป็นจอมเทวดา ลัทธิข้างจีนฝ่ายมหายานว่า ทรงพระนามเตียงเชียง แปลว่า สง่างาม มือถือร่ม ทางทิเบตว่าถือกระบี่

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:59, 27 พฤษภาคม 2557

โซโจเท็น (ท้าววิรุฬหก), วัดจิโกจิ, ทะคะซะโง, จังหวัดเฮียวโงะ, ญี่ปุ่น

ท้าววิรุฬหก[1] (บาลี: Viruḷhaka; สันสกฤต: विरूढक) หนึ่งในสี่ผู้ปกครองสวรรค์ชั้น""จาตุมหาราชิกา"" ซึ่งเป็นชั้นล่างสุดในไตรภูมิพระร่วง เป็นเทพเจ้าผู้ปกครองทิศใต้ของเขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็นทีใหญ่ในหมู่""ครุฑ"" มีเทพกลุ่มกุมภัณฑ์เป็นบริวาร มีรูปร่างท้องป่องพุ่งใหญ่ ขาสั้น กำยำล่ำสัน ตามความเชื่อบางคติจะพบได้ว่าท้าววิรุฬหกคือผู้ปกครองครุฑและนก

ในมหาสมัยสูตรและบทภาณยักษ์ว่า โลกบาลแห่งทิศทักษิณทรงพระนามท้าววิรุฬหกมหาราช จอมกุมภัณฑ์ ส่วนในอาฏานาฏิยปริตรว่าเป็นจอมเทวดา ลัทธิข้างจีนฝ่ายมหายานว่า ทรงพระนามเตียงเชียง แปลว่า สง่างาม มือถือร่ม ทางทิเบตว่าถือกระบี่

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 316