ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โฟล์กโซโนมี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
→‎อ้างอิง: add category using AWB
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
* [http://www.ecommerce-magazine.com/index.php?option=com_content&task=view&id=1727&Itemid=37 โฟล์กโซโนมี] จากเว็บอีคอมเมิร์ซ
* [http://www.ecommerce-magazine.com/index.php?option=com_content&task=view&id=1727&Itemid=37 โฟล์กโซโนมี] จากเว็บอีคอมเมิร์ซ



[[หมวดหมู่:การแทนความรู้]]
[[หมวดหมู่:เว็บเชิงความหมาย]]
[[หมวดหมู่:เว็บเชิงความหมาย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:46, 20 พฤษภาคม 2557

โฟล์กโซโนมี (อังกฤษ: folksonomy) หรือ ปัจเจกวิธาน คืออนุกรมวิธานที่ผู้ใช้สร้างขึ้นเอง ซึ่งใช้ในการแบ่งหมวดหมู่และค้นคืน หน้าเว็บ รูปภาพ ตัวเชื่อมโยงเว็บ และ เนื้อหาบนเว็บอื่นๆ โดยใช้กินติดป้ายที่ไม่จำกัดข้อความ โดยปกติโฟล์กโซโนมีทำงานผ่านอินเทอร์เน็ต อย่างไรก็ตามอาจจะถูกนำไปใช้ในบริบทอื่นเช่นกัน กระบวนการการติดป้ายแบบโฟล์กโซโนมีเจตนาที่จะเพิ่มความง่ายในการค้นหา ค้นพบ และหาตำแหน่ง เมื่อเวลาผ่านไป โฟล์กโซโนมีที่พัฒนาขึ้นมาอย่างดีตามหลักการแล้วสามารถใช้เป็นรายการคำศัพท์ที่ใช้ร่วมกัน ซึ่งสร้างขึ้นมาโดยผู้ใช้อันดับแรก และเป็นที่คุ้นเคยสำหรับผู้ใช้อันดับแรก เว็บไซต์ที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดสองแห่งที่ใช้การติดป้ายแบบโฟล์กโซโนมีคือ ฟลิคเกอร์ และ del.icio.us อย่างไรก็ตามมีการชี้ประเด็นว่า ฟลิคเกอร์ ไม่ใช่ตัวอย่างที่ดีของ'โฟล์กโซโนมี

เนื่องจากโฟล์กโซโนมีพัฒนาขึ้นในสิ่งแวดล้อมทางสังคมที่ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อกลาง โดยทั่วไปแล้วผู้ใช้จึงสามารถค้นพบได้ว่าใครเป็นผู้ติดป้ายโฟล์กโซโนมี และสามารถดูได้ว่าผู้ใช้คนอื่นสร้างป้ายอะไรขึ้นมาบ้าง

อ้างอิง