ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พฤติกรรมศาสตร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พิมผิด
บรรทัด 9: บรรทัด 9:


== ประเภทของพฤติกรรมศาสตร์ ==
== ประเภทของพฤติกรรมศาสตร์ ==
'''พฤติกรรมศาสตร์'''แบ่งเป็นประเภทอย่างกว้งๆ ได้ 2 ประเภทคือ วิทยาศาสตร์การตัดสินใจเชิงประสาท (Neural-Decision sciences) และ วิทยาศาสตร์การสื่อความเชิงสังคม (Social-Communication sciences.)
'''พฤติกรรมศาสตร์'''แบ่งเป็นประเภทอย่างกว้างๆ ได้ 2 ประเภทคือ วิทยาศาสตร์การตัดสินใจเชิงประสาท (Neural-Decision sciences) และ วิทยาศาสตร์การสื่อความเชิงสังคม (Social-Communication sciences.)



== พฤติกรรมศาสตร์ในฐานะวิทยาศาสตร์บูรณาการ ==
== พฤติกรรมศาสตร์ในฐานะวิทยาศาสตร์บูรณาการ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:38, 14 พฤษภาคม 2557

พฤติกรรมศาสตร์ Behavioural sciences (หรือ Behavioral science) หมายถึงคำศัพท์ทั่วไปที่ใช้ในสาขาวิชาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในโลกธรรมชาติ พฤติกรรมศาสตร์เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและการสืบค้นหาพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ผ่านการควบคุมและการสังเกตการณ์เชิงทดลองแบบธรรมชาติและการวางกฎเกณฑ์อันเข้มงวด

อย่างไรก็ดี เมื่อเร็วๆ นี้ ภาควิชาในสาขาจิตวิทยาหลายแห่งได้ยอมรับคำศัพท์เฉพาะนี้เพื่อใช้ในการกล่าวถึงกลุ่มบุคคลที่ทำการศึกษาคำถามเชิงพฤติกรรมอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ที่แตกต่างอย่างเด่นชัดไปจากการศึกษาเรื่องทั่วไปทางจิตวิทยา

ความแตกต่างระหว่างพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์

พฤติกรรมศาสตร์ มักสับสนกับ สังคมศาสตร์ แม้ศัพท์เฉพาะทั้งสองคำนี้จะมีความสัมพันธ์อย่างกว้างๆ ระหว่างกัน เป็นการศึกษากระบวนการพฤติกรรมอย่างเป็นระบบคล้ายกัน แต่ก็แตกต่างกันในระดับการวิเคราะห์เชิงวิทยศาสตร์ในหลายมิติของพฤติกรรม พฤติกรรมศาสตร์เน้นอย่างชัดเจนในด้านการสอบสวนกระบวนการตัดสินใจและกลยุทธการสื่อความภายในหรือระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบสังคม พฤติกรรมศาสตร์เกี่ยวข้องกับสาขาอื่นๆ เช่น จิตวิทยา และประสาทวิทยาศาสตร์สังคม

ประเภทของพฤติกรรมศาสตร์

พฤติกรรมศาสตร์แบ่งเป็นประเภทอย่างกว้างๆ ได้ 2 ประเภทคือ วิทยาศาสตร์การตัดสินใจเชิงประสาท (Neural-Decision sciences) และ วิทยาศาสตร์การสื่อความเชิงสังคม (Social-Communication sciences.)

พฤติกรรมศาสตร์ในฐานะวิทยาศาสตร์บูรณาการ

วิทยาศาสตร์การตัดสินใจเชิงประสาทเป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างพฤติกรรมศาสตร์และปริชาน และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ โดยรวมกันก่อเป็นทฤษฎีที่เป็นฐานสำหรับปฏิกิริยาของระบบชีวกายภาพและกระบวนการทางปริชานในการตัดสินใจของสิ่งมีชีวิต

ดูเพิ่ม


External links