ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟุตซอลโลก 2012"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PUNG191230 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
| cities = 2
| cities = 2
| count = 5
| count = 5
| champion = BRA
| champion = {{futsal|BRA}}
| second = ESP
| second = {{futsal|ESP}}
| third = ITA
| third = {{futsal|ITA}}
| fourth = COL
| fourth = {{futsal|COL}}
| most to score =
| most to score =
| matches = 52
| matches = 52
บรรทัด 1,338: บรรทัด 1,338:


== ชนะเลิศ ==
== ชนะเลิศ ==
{{winners|futsal|ผู้ชนะการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2008|BRA|สมัยที่ 5}}
{| class="wikitable" style="text-align: center; margin: 0 auto;"
|-
!ชนะเลิศ[[ฟุตซอลชิงแชมป์โลก]] [[ฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012|2012]]
|-
|{{flagicon|บราซิล|size=100px}}<br /><br />'''[[ฟุตซอลทีมชาติบราซิล|บราซิล]]''' <br /><br /> '''ชนะเลิศครั้งที่ 5'''
|}


== รางวัล ==
== รางวัล ==
บรรทัด 1,390: บรรทัด 1,385:
[[หมวดหมู่:ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2555]]
[[หมวดหมู่:ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2555]]
[[หมวดหมู่:ฟุตซอลชิงแชมป์โลก|2012]]
[[หมวดหมู่:ฟุตซอลชิงแชมป์โลก|2012]]
[[หมวดหมู่:ฟุตซอลชิงแชมป์โลก_2012]]
[[หมวดหมู่:ฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012]]
[[หมวดหมู่:การแข่งขันฟุตบอลนานาชาติที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ]]
[[หมวดหมู่:การแข่งขันฟุตบอลนานาชาติที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ]]
{{โครงกีฬา}}
{{โครงกีฬา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:28, 11 พฤษภาคม 2557

ฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012
2012 FIFA Futsal World Cup
สัญลักษณ์การแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012 อย่างเป็นทางการ
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพไทย
วันที่1 – 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
ทีม24
สถานที่(ใน 2 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ{{country data ธงชาติบราซิล บราซิล

| country flaglink | variant = | size = | name = | altlink = ฟุตบอลทีมชาติ | altvar = football

}} (สมัยที่ 5)
รองชนะเลิศ{{country data ธงชาติสเปน สเปน

| country flaglink | variant = | size = | name = | altlink = ฟุตบอลทีมชาติ | altvar = football

}}
อันดับที่ 3{{country data ธงชาติอิตาลี อิตาลี

| country flaglink | variant = | size = | name = | altlink = ฟุตบอลทีมชาติ | altvar = football

}}
อันดับที่ 4{{country data ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย

| country flaglink | variant = | size = | name = | altlink = ฟุตบอลทีมชาติ | altvar = football

}}
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน52
จำนวนประตู349 (6.71 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม160,302 (3,083 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดรัสเซีย อีเดอร์ ลีมา (9 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมบราซิล เนโต
2008
2016

การแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012 (อังกฤษ: 2012 FIFA Futsal World Cup) นับเป็นการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลกครั้งที่ 7 ซึ่งจัดขึ้นที่ประเทศไทย ในช่วงวันที่ 1 – 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555[1] มีทีมชาติต่างๆเข้าร่วมแข่งขันทั้งสิ้น 24 ทีม[2]

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพ

เจ้าภาพ

ประเทศที่เสนอตัว

ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย

ทีมเจ้าภาพ

ฟุตซอลทีมชาติไทย ได้ผ่านเข้ารอบอัตโนมัติ เนื่องจากเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน

ทีมที่ผ่านเข้ารอบจากทวีปต่างๆ

การแข่งขัน วันที่ สถานที่ ทีม ทีมที่ผ่านเข้ารอบ
เจ้าภาพ   1 ไทย ไทย
เอเอฟซี ฟุตซอล แชมเปียนส์ชิพ 2012 25 พ.ค. - 1 มิ.ย. 2555 ธงของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 4 อิหร่าน อิหร่าน
ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
คูเวต คูเวต (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก)
ฟีฟ่า ฟุตซอล เวิลด์คัพ 2012 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา 6 เม.ย. - 24 มิ.ย. 2555 3 ลิเบีย ลิเบีย
อียิปต์ อียิปต์
โมร็อกโก โมร็อกโก (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก)
คอนคาเคฟ ฟุตซอล แชมเปียนส์ชิพ 2012 2-8 ก.ค. 2555 ธงของประเทศกัวเตมาลา กัวเตมาลา 4 คอสตาริกา คอสตาริกา
ประเทศกัวเตมาลา กัวเตมาลา
เม็กซิโก เม็กซิโก (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก)
ปานามา ปานามา (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก)
ฟีฟ่า ฟุตซอล เวิลด์คัพ 2012 รอบคัดเลือก โซนคอนเมโบล 15-22 เม.ย. พ.ศ. 2555 ธงของประเทศบราซิล บราซิล 4 อาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
ปารากวัย ปารากวัย
บราซิล บราซิล
โคลอมเบีย โคลอมเบีย (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก)
โอเชียเนียน ฟุตซอล แชมเปียนส์ชิพ 2011 16-20 พ.ค. 2554  ฟีจี 1 หมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะโซโลมอน
ฟีฟ่า ยูฟ่า ฟุตซอล เวิลด์คัพ 2012 19 ต.ค. 2554 - 11 เม.ย. 2555 7 ยูเครน ยูเครน
เซอร์เบีย เซอร์เบีย (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก)
รัสเซีย รัสเซีย
สเปน สเปน
โปรตุเกส โปรตุเกส
เช็กเกีย สาธารณรัฐเช็ก
อิตาลี อิตาลี
ทั้งหมด 24

สถานที่แข่งขัน

ต่อไปนี้เป็นสนามกีฬาในร่มที่ใช้ในการแข่งขัน[4]

สนาม อินดอร์ สเตเดียม สนามกีฬาหัวหมาก อาคารกีฬานิมิบุตร กรีฑาสถานแห่งชาติ ชาติชายฮอลล์ ศูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา
ภาพ
จังหวัด กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร นครราชสีมา
ความจุ 6,000 5,600 5,000

หลังจากคณะทำงานของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (ฟีฟ่า) ประเมินความพร้อมใช้งานของสนามบางกอกฟุตซอลอารีนา ในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 คณะกรรมการฟุตซอลของฟีฟ่า มีมติให้ยกเลิกการใช้สนามดังกล่าว เนื่องจากการก่อสร้างไม่เป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยที่ฟีฟ่ากำหนด[5] เป็นผลให้ฟีฟ่าประกาศย้ายสถานที่แข่งขัน ตั้งแต่รอบก่อนรองชนะเลิศ เฉพาะนัดที่กำหนดว่าจะแข่งขันที่สนามแห่งนี้ โดยเปลี่ยนไปใช้อาคารกีฬานิมิบุตร กรีฑาสถานแห่งชาติ ในรอบก่อนรองชนะเลิศ[6] และอินดอร์ สเตเดียม สนามกีฬาหัวหมาก ในรอบรองชนะเลิศ กับนัดชิงชนะเลิศตามลำดับ[7]

ผู้ตัดสิน

ด้านล่างนี้เป็นรายชื่อผู้ตัดสินในการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012[8]

การจับสลากแบ่งกลุ่ม

24 ประเทศที่เข้าแข่งขันครั้งนี้ จะแบ่งเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ประเทศ.[9] ผู้ที่ได้อันดับที่ 1 กับอันดับที่ 2 ของแต่ละกลุ่ม และ 4 ทีมที่มีคะแนนดีที่สุดจากอันดับที่ 3 ของแต่ละกลุ่มจะเข้ารอบ 16 ทีมสุดท้าย ตามตารางการแข่งขันที่ได้จับสลากแบ่งสาย เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2555[10]

รอบแบ่งกลุ่ม

กลุ่ม เอ

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
ธงชาติยูเครน ยูเครน 3 2 1 0 14 7 +7 7
ธงชาติปารากวัย ปารากวัย 3 1 1 1 9 11 –2 4
ธงชาติไทย ไทย 3 1 0 2 8 9 –1 3
ธงชาติคอสตาริกา คอสตาริกา 3 1 0 2 8 12 –4 3

กลุ่ม บี

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
ธงชาติสเปน สเปน 3 2 1 0 15 6 +9 7
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 3 2 1 0 8 6 +2 7
ธงชาติปานามา ปานามา 3 1 0 2 14 15 –1 3
ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก 3 0 0 3 5 15 –10 0

กลุ่ม ซี

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
ธงชาติบราซิล บราซิล 3 3 0 0 20 2 +18 9
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส 3 1 1 1 11 9 +2 4
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 3 1 1 1 10 11 –1 4
ธงชาติลิเบีย ลิเบีย 3 0 0 3 3 22 –19 0
4 พฤศจิกายน 2555 บราซิล ธงชาติบราซิล13 - 0ธงชาติลิเบีย ลิเบียนครราชสีมา
21:00 กาเบรียล Goal 7'
โรดริโก Goal 8'10'
เนโต Goal 15'
แฟร์นานดินโญ่ Goal 17'31'33'34'
ราโฮมา Goal 25' (o.g.)
เช Goal 31'34'38'
ราฟาเอล Goal 39'
รายงาน สนามกีฬา: โคราช ชาติชาย ฮอลล์
ผู้ชมในสนาม: 4,350 คน
ผู้ตัดสิน: โครเอเชีย ดานีเยล ยานอเซวิช

กลุ่ม ดี

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
ธงชาติอิตาลี อิตาลี 3 3 0 0 17 5 +12 9
ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 3 2 0 1 14 5 +9 6
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 1 0 2 5 17 –12 3
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 3 0 0 3 4 13 –9 0

กลุ่ม อี

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย 3 2 1 0 12 5 +7 7
ธงชาติเช็กเกีย เช็กเกีย 3 1 1 1 7 11 –4 4
ธงชาติอียิปต์ อียิปต์ 3 1 0 2 11 9 +2 3
ธงชาติคูเวต คูเวต 3 1 0 2 8 13 –5 3

กลุ่ม เอฟ

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย 3 3 0 0 27 0 +27 9
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 3 1 0 2 13 10 +3 3
ธงชาติประเทศกัวเตมาลา กัวเตมาลา 3 1 0 2 8 15 –7 3
ธงชาติหมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะโซโลมอน 3 1 0 2 7 30 −23 3

ตารางคะแนนของทีมอันดับที่ 3

ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
C. ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 3 1 1 1 10 11 –1 4
E. ธงชาติอียิปต์ อียิปต์ 3 1 0 2 11 9 +2 3
B. ธงชาติปานามา ปานามา 3 1 0 2 14 15 –1 3
A. ธงชาติไทย ไทย 3 1 0 2 8 9 –1 3
F. ธงชาติประเทศกัวเตมาลา กัวเตมาลา 3 1 0 2 8 15 –7 3
D. ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 1 0 2 5 17 –12 3

รอบสุดท้าย

รอบ 16 ทีม รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                           
11 พฤศจิกายน 2555 – กรุงเทพมหานคร            
 ธงชาติปารากวัย ปารากวัย  1
14 พฤศจิกายน 2555 – กรุงเทพมหานคร
 ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส  4  
 ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส  3
12 พฤศจิกายน 2555 – นครราชสีมา
   ธงชาติอิตาลี อิตาลี (a.e.t.)  4  
 ธงชาติอิตาลี อิตาลี  5
16 พฤศจิกายน 2555 – กรุงเทพมหานคร
 ธงชาติอียิปต์ อียิปต์  1  
 ธงชาติอิตาลี อิตาลี  1
11 พฤศจิกายน 2555 – กรุงเทพมหานคร
   ธงชาติสเปน สเปน  4  
 ธงชาติสเปน สเปน  7
14 พฤศจิกายน 2555 – กรุงเทพมหานคร
 ธงชาติไทย ไทย  1  
 ธงชาติสเปน สเปน  3
12 พฤศจิกายน 2555 – กรุงเทพมหานคร
   ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย  2  
 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย  3
18 พฤศจิกายน 2555 – กรุงเทพมหานคร
 ธงชาติเช็กเกีย เช็กเกีย  0  
 ธงชาติสเปน สเปน  2
12 พฤศจิกายน 2555 – กรุงเทพมหานคร
   ธงชาติบราซิล บราซิล (a.e.t.)  3
 ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย  1
14 พฤศจิกายน 2555 – กรุงเทพมหานคร
 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา  2  
 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา  2
12 พฤศจิกายน 2555 – นครราชสีมา
   ธงชาติบราซิล บราซิล (a.e.t.)  3  
 ธงชาติบราซิล บราซิล  16
16 พฤศจิกายน 2555 – กรุงเทพมหานคร
 ธงชาติปานามา ปานามา  0  
 ธงชาติบราซิล บราซิล  3
11 พฤศจิกายน 2555 – กรุงเทพมหานคร
   ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย  1   อันดับที่ 3
 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน  1
14 พฤศจิกายน 2555 – กรุงเทพมหานคร 18 พฤศจิกายน 2555 – กรุงเทพมหานคร
 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย  2  
 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย  3  ธงชาติอิตาลี อิตาลี  3
11 พฤศจิกายน 2555 – กรุงเทพมหานคร
   ธงชาติยูเครน ยูเครน  1    ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย  0
 ธงชาติยูเครน ยูเครน  6
 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น  3  

รอบ 16 ทีมสุดท้าย

12 พฤศจิกายน 2555 บราซิล ธงชาติบราซิล16 - 0ธงชาติปานามา ปานามานครราชสีมา
ไฟล์:MCOTPCL Logo.png 18:30 แฟร์นันดินโญ Goal 4'38'
เจ Goal 6'19'35'
โรดริโก Goal 7'33'
อารี Goal 8'10'39'
ซิมี Goal 12'
เนโต Goal 13'
วินิซิอุส Goal 23'
ราฟาเอล Goal 30'34'
ฟัลเกา Goal 37'
รายงาน สนามกีฬา: โคราช ชาติชาย ฮอลล์
ผู้ชมในสนาม: 3,644 คน
ผู้ตัดสิน: สเปน เฟร์นานโด กูเตียร์เรซ

รอบ 8 ทีมสุดท้าย

รอบรองชนะเลิศ

นัดชิงอันดับที่ 3

นัดชิงชนะเลิศ

ชนะเลิศ

 ผู้ชนะการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2008 
ธงชาติบราซิล
บราซิล
สมัยที่ 5

รางวัล

รองเท้าทองคำ ลูกบอลทองคำ ถุงมือทองคำ รางวัลฟีฟ่าแฟร์เพลย์
รัสเซีย อีเดอร์ ลีมา บราซิล เนโต อิตาลี สเตฟาโน มามมาเรลา ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
รองเท้าเงิน รองเท้าทองแดง ลูกบอลเงิน ลูกบอลทองแดง
อิตาลี โรโดลโฟ ฟอร์ตีโน บราซิล เฟอร์นานดินโญ สเปน กีเก โปรตุเกส รีคาร์ดินโญ

ข้อมูลทั่วไป

การถ่ายทอดโทรทัศน์

สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ จำหน่ายลิขสิทธิ์การถ่ายทอดโทรทัศน์ในทั้ง 52 นัดของการแข่งขันครั้งนี้ ซึ่งอยู่ในช่วงเวลา 17:00-19:00 น., 19:00-21:00 น. และ 21:00-23:00 น. ให้แก่บริษัท อาดามัสเวิลด์ จำกัด โดยทำสัญญาให้แพร่ภาพทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ทำการถ่ายทอดสดจำนวน 26 นัดแข่งขัน โดยเฉพาะที่ฟุตซอลทีมชาติไทยลงเล่น และสถานีโทรทัศน์ทีสปอร์ต ของการกีฬาแห่งประเทศไทย ทำการถ่ายทอดสดจำนวน 29 นัดแข่งขัน ร่วมกับการถ่ายทอดบันทึกการแข่งขันอีก 23 นัดแข่งขัน ทั้งนี้ในการถ่ายทอดสดทุกนัด จะไม่มีภาพยนตร์โฆษณาคั่นระหว่างการแข่งขัน[11]

เพลงประจำการแข่งขัน

ไฟล์:HEART & SOUL - Slot Machine.jpg
เพลงพลังใจ พลังจิต (HEART & SOUL) โดย สล็อตแมชชีน

อ้างอิง

  1. FIFA Executive Committee approves special funding for Chile and Haiti
  2. "Executive Committee approves voting process" (Press release). FIFA. 2010-10-29. สืบค้นเมื่อ 2010-10-29.
  3. Thailand Awarded the 2012 FIFA Futsal World Cup!
  4. "Futsal World Cup to kick off on 1 November". FIFA. 2012-02-27. สืบค้นเมื่อ 2012-02-27.
  5. Indoor Stadium Huamark to host Futsal World Cup final, 6 November 2012, FIFA Futsal World Cup News.
  6. งามหน้าแล้ว!!! ฟีฟ่าสั่งไม่ใช้ 'หนองจอก' จัดฟุตซอลโลก, 6 พฤศจิกายน 2555, ข่าวไทยรัฐออนไลน์.
  7. Futsal World Cup matches moved, 5 November 2012, FIFA Futsal World Cup News.
  8. "FIFA Futsal World Cup Thailand 2012 - Appointment of Referees" (PDF). FIFA.com. 12 September 2012.
  9. "Futsal World Cup schedule confirmed". FIFA. 2012-04-04. สืบค้นเมื่อ 2012-04-04.
  10. "วางคิวแบ่งสายฟุตซอลโลก ปูแดงเป็นประธาน ช่อง9โมเดิร์นไนน์ยิงสด". นสพ.ไทยรัฐ. 2012-07-09. สืบค้นเมื่อ 2012-07-19.
  11. โต๊ะเล็กจอไม่ดำ 'ช่อง9-ทีสปอร์ต' ยิงสดฟุตซอลโลก อาดามัสเวิลด์จัดให้ 1-18 พ.ย.ฟรีครบทุกนัด

แหล่งข้อมูลอื่น