ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผ่นดินไหวในอำเภอแม่ลาว พ.ศ. 2557"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dfddtdt (คุย | ส่วนร่วม)
Thmmrth (คุย | ส่วนร่วม)
→‎โบราณสถาน ศาสนสถาน: สร้างมา 20 กว่าปีแล้วครับ
บรรทัด 44: บรรทัด 44:
ความเสียหาย ส่วนใหญ่เป็นความเสียหายด้านอาคารสถานที่ ทั้งโบราณสถาน สถานที่ราชการ เส้นทางคมนาคมและบ้านเรือนของประชาชน ในพื้นที่ที่รับรู้ได้ถึงแรงสั่นสะเทือน
ความเสียหาย ส่วนใหญ่เป็นความเสียหายด้านอาคารสถานที่ ทั้งโบราณสถาน สถานที่ราชการ เส้นทางคมนาคมและบ้านเรือนของประชาชน ในพื้นที่ที่รับรู้ได้ถึงแรงสั่นสะเทือน
=== โบราณสถาน ศาสนสถาน ===
=== โบราณสถาน ศาสนสถาน ===
[[วัดร่องขุ่น]] มีรูปภาพบนผนังในโบสถ์ ที่ใช้เวลาสร้างถึง 2 ปี ผนังภาพจิตรกรรมในโบสถ์ เป็นรอยร้าวยาว แผ่นสีภาพแตกร่อนออกมา สะพานด้านข้างโบสถ์แตกเสียหาย ยอดเจดีย์หักเบี้ยว หลังคาหอแสดงภาพจิตรกรรมแตก ทุกสิ่งทุกอย่างที่สร้างมานานต้องมาพังพินาศภายในวันเดียว [[เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์]] ศิลปินแห่งชาติ ผู้บุกเบิกสร้าง[[วัดร่องขุ่น]] กล่าวว่า ความเสียหายที่เกิดขึ้น เป็นความเสียหายที่มีค่ามาก ไม่ใช่มูลค่าของสิ่งที่สร้าง แต่เป็นคุณค่าทางจิตใจ สร้างวัดนี้ขึ้นมาไม่เคยขอเงินใคร เป็นเงินที่ตนหามาเอง เฉลิมชัยกล่าวอีกว่า ส่วนไหนที่สามารถซ่อมได้ก็จะซ่อม แต่ถ้าส่วนไหนที่ซ่อมไม่ได้ก็จะปล่อยให้มันคงอยู่อย่างเดิม ไม่ทำลาย เพื่อเป็นอนุสรณ์รำลึกถึงการเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว <ref>http://www.thairath.co.th/content/421167</ref>
[[วัดร่องขุ่น]] มีรูปภาพบนผนังในโบสถ์ ที่ใช้เวลาสร้างมากกว่า 20 ปี และคาดว่าต้องใช้เวลาในการซ่อมกว่า 2 ปี โดยความเสียหาย ณ ปัจจุบันได้แก่ ผนังภาพจิตรกรรมในโบสถ์ เป็นรอยร้าวยาว แผ่นสีภาพแตกร่อนออกมา สะพานด้านข้างโบสถ์แตกเสียหาย ยอดเจดีย์หักเบี้ยว หลังคาหอแสดงภาพจิตรกรรมแตก ทุกสิ่งทุกอย่างที่สร้างมานานต้องมาพังพินาศภายในวันเดียว [[เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์]] ศิลปินแห่งชาติ ผู้บุกเบิกสร้าง[[วัดร่องขุ่น]] กล่าวว่า ความเสียหายที่เกิดขึ้น เป็นความเสียหายที่มีค่ามาก ไม่ใช่มูลค่าของสิ่งที่สร้าง แต่เป็นคุณค่าทางจิตใจ สร้างวัดนี้ขึ้นมาไม่เคยขอเงินใคร เป็นเงินที่ตนหามาเอง เฉลิมชัยกล่าวอีกว่า ส่วนไหนที่สามารถซ่อมได้ก็จะซ่อม แต่ถ้าส่วนไหนที่ซ่อมไม่ได้ก็จะปล่อยให้มันคงอยู่อย่างเดิม ไม่ทำลาย เพื่อเป็นอนุสรณ์รำลึกถึงการเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว <ref>http://www.thairath.co.th/content/421167</ref>


{{โครงส่วน}}
{{โครงส่วน}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:16, 7 พฤษภาคม 2557

แผ่นดินไหวที่อำเภอพาน พ.ศ. 2557
แผ่นดินไหวในอำเภอแม่ลาว พ.ศ. 2557ตั้งอยู่ในประเทศไทย
แผ่นดินไหวในอำเภอแม่ลาว พ.ศ. 2557
จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร
แผนที่แสดงจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
เวลาสากลเชิงพิกัด??
รหัสเหตุการณ์ ISC
USGS-ANSS
วันที่*5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
[[Category:EQ articles using 'date' or 'time'
(deprecated)]]
เวลา*11:08:42 UTC
18:08:42 ICT
[[Category:EQ articles using 'origintime'
(deprecated)]]
วันที่ท้องถิ่น
เวลาท้องถิ่น
ขนาด6.3 แมกนิจูด (กรมอุตุฯ)[1]
6.0 แมกนิจูด (USGS)[2]
ความลึก7.4 km (5 mi)
พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบไทย พม่า
สึนามิไม่
ผู้ประสบภัยผู้เสียชีวิต 1 คน
เลิกใช้แล้ว ดูเอกสาร

แผ่นดินไหวที่อำเภอพาน พ.ศ. 2557 เกิดขึ้นเมื่อเวลา 18.08.43 น. ตามเวลาท้องถิ่นของประเทศไทย (UTC+7) ในวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา รายงานว่า จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอยู่ในตำบลทรายขาว อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย[3] ส่วน USGS รายงานว่าจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอยู่ห่างจากอำเภอแม่ลาวไปทางใต้ 9 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากตัวเมืองจังหวัดเชียงรายไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 27 กิโลเมตร[2][4] มีผู้เสียชีวิตแล้ว 1 คน

ข้อมูลทางธรณีวิทยา

แผนที่ของ USGS แสดงความรุนแรงของแผ่นดินไหว

แผ่นดินไหวครั้งนี้เกิดขึ้นจากการปลดปล่อยพลังงานของรอยเลื่อนพะเยา จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ลึกลงไปใต้ดิน 6 กิโลเมตร ซึ่งถือว่าตื้น ทำให้มีความรุนแรงและความเสียหายเป็นอย่างมาก โดยแรงสั่นสะเทือนทำให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งปลูกสร้างในระยะ 30 กิโลเมตรจากจุดศูนย์กลาง และมีแผ่นดินไหวตามมากอีกมากกว่า 100 ครั้ง[5] ทั้งนี้ยังมีการให้เฝ้าระวังแผ่นดินไหวตามที่อาจจะเกิดขึ้น จากรอยเลื่อนพะเยาในจังหวัดเชียงราย, จังหวัดพะเยาและจังหวัดลำปาง[6]

แผ่นดินไหว

ผลกระทบ

ความเสียหาย ส่วนใหญ่เป็นความเสียหายด้านอาคารสถานที่ ทั้งโบราณสถาน สถานที่ราชการ เส้นทางคมนาคมและบ้านเรือนของประชาชน ในพื้นที่ที่รับรู้ได้ถึงแรงสั่นสะเทือน

โบราณสถาน ศาสนสถาน

วัดร่องขุ่น มีรูปภาพบนผนังในโบสถ์ ที่ใช้เวลาสร้างมากกว่า 20 ปี และคาดว่าต้องใช้เวลาในการซ่อมกว่า 2 ปี โดยความเสียหาย ณ ปัจจุบันได้แก่ ผนังภาพจิตรกรรมในโบสถ์ เป็นรอยร้าวยาว แผ่นสีภาพแตกร่อนออกมา สะพานด้านข้างโบสถ์แตกเสียหาย ยอดเจดีย์หักเบี้ยว หลังคาหอแสดงภาพจิตรกรรมแตก ทุกสิ่งทุกอย่างที่สร้างมานานต้องมาพังพินาศภายในวันเดียว เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ศิลปินแห่งชาติ ผู้บุกเบิกสร้างวัดร่องขุ่น กล่าวว่า ความเสียหายที่เกิดขึ้น เป็นความเสียหายที่มีค่ามาก ไม่ใช่มูลค่าของสิ่งที่สร้าง แต่เป็นคุณค่าทางจิตใจ สร้างวัดนี้ขึ้นมาไม่เคยขอเงินใคร เป็นเงินที่ตนหามาเอง เฉลิมชัยกล่าวอีกว่า ส่วนไหนที่สามารถซ่อมได้ก็จะซ่อม แต่ถ้าส่วนไหนที่ซ่อมไม่ได้ก็จะปล่อยให้มันคงอยู่อย่างเดิม ไม่ทำลาย เพื่อเป็นอนุสรณ์รำลึกถึงการเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว [7]

สถานที่ราชการ

เส้นทางคมนาคม

กรมทางหลวง เปิดเผยข้อมูลหลังเกิดหลังแผ่นดินไหวว่า ทางหลวงสาย 118 ที่ตัดผ่านอำเภอแม่ลาว ช่วงกม. 147-152 มีผิวการจราจรแตกหักเสียหาย[8]

ประชาชนเสียชีวิต

ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย ระบุว่ามีผู้เสียชีวิต 1 คน อยู่ในพื้นที่ ตำบลโป่งแพร่, อำเภอแม่ลาว เนื่องจากถูกผนังบ้านล้มทับบริเวณศีรษะ[9]

อ้างอิง

  1. รายงานแผ่นดินไหว
  2. 2.0 2.1 "M6.3 - 9km S of Mae Lao, Thailand". USGS. May 5, 2014. สืบค้นเมื่อ May 5, 2014.
  3. รายการค้นหาแผ่นดิวไหวภายในประเทศและใกล้เคียง
  4. "M6.0 - 9km S of Mae Lao, Thailand". USGS. May 5, 2014. สืบค้นเมื่อ May 5, 2014.
  5. http://news.sanook.com/1593016/นักวิชาการชี้-รอยเลื่อนพะเยา-ต้นเหตุแผ่นดินไหว-6.3
  6. http://www.thairath.co.th/content/420954
  7. http://www.thairath.co.th/content/421167
  8. http://www.thairath.co.th/content/420893
  9. http://news.voicetv.co.th/thailand/104825.html (วันที่ 6 พฤษภาคม 2557)