ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อีซูซุ อาสก้า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Apple1968 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apple1968 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
| ลักษณะ = ซีดาน 4 ประตู
| ลักษณะ = ซีดาน 4 ประตู
| รุ่นก่อนหน้า = [[อีซูซุ ฟลอเรี่ยน]]
| รุ่นก่อนหน้า = [[อีซูซุ ฟลอเรี่ยน]]
| รุ่นต่อ = ยังไม่มี
| รุ่นต่อ = ไม่มี
| เครื่องยนต์ =
| เครื่องยนต์ =
| ชิ้นส่วนเดียวกับ = [[ซูบารุ เลกาซี]]<br>[[ฮอนด้า แอคคอร์ด]]
| ชิ้นส่วนเดียวกับ = [[ซูบารุ เลกาซี]]<br>[[ฮอนด้า แอคคอร์ด]]
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
}}
}}


'''อีซูซุ อาสก้า''' ({{lang-en|Isuzu Aska}}) เป็น[[ประเภทของรถยนต์|รถยนต์นั่งขนาดกลาง]] (Mid-Size Car) ที่ผลิตโดย[[อีซูซุ]] เริ่มการผลิตในปี [[พ.ศ. 2526]] โดยใช้แพลตฟอร์มร่วมกับซูบารุ เลกาซี และฮอนด้า แอคคอร์ดตามลำดับ ออกมาเพื่อทดแทน[[อีซูซุ ฟลอเรี่ยน]] ({{lang-en|Isuzu Florian}}) ที่ยุติการผลิตไปเมื่อปี [[พ.ศ. 2526]] และอาสก้าได้เลิกขายเมื่อปี [[พ.ศ. 2545]] โดยไม่มีรถรุ่นใหม่เข้ามาทดแทน เนื่องจากอีซูซุเลิกทำตลาดรถยนต์นั่งอย่างถาวรแล้ว โดยเลิกผลิตรถยนต์นั่งด้วยตนเองตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2536]] เนื่องจากการขาดทุนสะสมต่อเนื่อง และหลังจากนั้นก็มีการพึ่งพาฮอนด้าให้ผลิตรถยนต์นั่งขายมาโดยตลอด และอีซูซุก็ได้ส่งรถเอนกประสงค์และรถกระบะไปให้ฮอนด้าขายเช่นเดียวกัน และยังพึ่งพานิสสันให้ผลิตรถเอนกประสงค์ขายด้วย จนในปัจจุบัน ความร่วมมือระหว่างอีซูซุกับฮอนด้าและนิสสันได้สิ้นสุดลงแล้ว
'''อีซูซุ อาสก้า''' ({{lang-en|Isuzu Aska}}) เป็น[[ประเภทของรถยนต์|รถยนต์นั่งขนาดกลาง]] (Mid-Size Car) ที่ผลิตโดย[[อีซูซุ]] เริ่มการผลิตในปี [[พ.ศ. 2526]] โดยใช้แพลตฟอร์มร่วมกับซูบารุ เลกาซี และฮอนด้า แอคคอร์ดตามลำดับ ออกมาเพื่อทดแทน[[อีซูซุ ฟลอเรี่ยน]] ({{lang-en|Isuzu Florian}}) ที่ยุติการผลิตไปเมื่อปี [[พ.ศ. 2526]] และอาสก้าได้เลิกผลิตและวางจำหน่ายเมื่อปี [[พ.ศ. 2545]] โดยไม่มีรถรุ่นใหม่เข้ามาทดแทน เนื่องจากอีซูซุเลิกทำตลาดรถยนต์นั่งอย่างถาวรแล้ว โดยเลิกผลิตรถยนต์นั่งด้วยตนเองตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2535]] เนื่องจากการขาดทุนสะสมต่อเนื่อง และหลังจากนั้นก็มีการพึ่งพาฮอนด้าให้ผลิตรถยนต์นั่งขายมาโดยตลอด และอีซูซุก็ได้ส่งรถเอนกประสงค์และรถกระบะไปให้ฮอนด้าขายเช่นเดียวกัน จนในปัจจุบัน ความร่วมมือระหว่างอีซูซุกับฮอนด้าได้สิ้นสุดลงแล้ว


== รุ่นที่ 1 ([[พ.ศ. 2526]]-[[พ.ศ. 2532|2532]]) ==
== รุ่นที่ 1 ([[พ.ศ. 2526]]-[[พ.ศ. 2532|2532]]) ==
[[ไฟล์:JJ120 ASKA irmscher.jpg|250px|thumbnail|left|อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 1]]
[[ไฟล์:JJ120 ASKA irmscher.jpg|250px|thumbnail|left|อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 1]]
อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 1 เริ่มผลิตเมื่อปี [[พ.ศ. 2526]] ใช้แพลตฟอร์มร่วมกับ GM (แบบ J-Car) มีตัวถังแบบเดียวคือซีดาน 4 ประตูเท่านั้น (เนื่องจากรุ่นเก่าอย่างฟลอเรี่ยน เคยทำตัวถังสเตชันวากอนออกมาแล้วขายไม่ดี) ใช้ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า มีเครื่องยนต์เบนซิน 1.8 และ 2.0 ลิตร และมีรุ่นเทอร์โบในรุ่น 2.0 ลิตรด้วย และเครื่องยนต์ดีเซล 2.0 ลิตร ระบบเกียร์เป็นเกียร์ธรรมดา 4 และ 5 สปีด เกียร์อัตโนมัติ 3 สปีด และเกียร์กึ่งอัตโนมัติ 3 สปีด
อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 1 เริ่มผลิตเมื่อปี [[พ.ศ. 2526]] ใช้แพลตฟอร์มร่วมกับ GM (แบบ J-Car) มีตัวถังแบบเดียวคือซีดาน 4 ประตูเท่านั้น (เนื่องจากรุ่นเก่าฟลอเรี่ยน เคยทำตัวถังสเตชันวากอนออกมาแล้วขายไม่ดี) ใช้ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า มีเครื่องยนต์เบนซิน 1.8 และ 2.0 ลิตร และมีรุ่นเทอร์โบในรุ่น 2.0 ลิตรด้วย และเครื่องยนต์ดีเซล 2.0 ลิตร ระบบเกียร์เป็นเกียร์ธรรมดา 4 และ 5 สปีด เกียร์อัตโนมัติ 3 สปีด และเกียร์กึ่งอัตโนมัติ 3 สปีด


ในช่วงแรก อาสก้าวางจำหน่ายโดยใช้ชื่อ '''อีซูซุ ฟลอเรี่ยน อาสก้า''' ต่อมาจึงได้เปลี่ยนชื่อให้สั้นลง เป็น '''อีซูซุ อาสก้า'''
ในช่วงแรก อาสก้าวางจำหน่ายโดยใช้ชื่อ '''อีซูซุ ฟลอเรี่ยน อาสก้า''' ต่อมาจึงได้เปลี่ยนชื่อให้สั้นลง เป็น '''อีซูซุ อาสก้า''' และเป็นอาสก้ารุ่นเดียวที่พัฒนาเอง ร่วมกับ[[เจนเนอรัล มอเตอร์ส]]


ใน[[ประเทศไทย]] บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ จำกัด เคยนำอาสก้าเข้ามาจำหน่ายในประเทศไทย เมื่อเดือนมิถุนายนปี [[พ.ศ. 2527]] โดยเปิดตัวที่[[เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว]] (โรงแรมไฮแอท เซ็นทรัลพลาซา ซึ่งปัจจุบันคือ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว) และในภาพยนตร์โฆษณาของอาสก้าในประเทศไทยก็ถ่ายทำที่เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าวเช่นกัน แต่เป็นตึก[[โรงแรม]] ไม่ใช่[[ห้างสรรพสินค้า|ห้าง]] มี 2 รุ่นคือ LT 1.8 ลิตร และ LX 2.0 ลิตร และอีซูซุยังเคยจัดแรลลี่อาสก้าทั่วไทยด้วย แต่ไม่ประสบความสำเร็จ เพราะส่วนใหญ่รถที่ขายดีของอีซูซุในไทย มักจะเป็นรถกระบะ และคู่แข่งในสมัยนั้นรูปทรงสวยกว่า ไฮเทคกว่า ในราคาเท่ากัน ปัจจุบัน อาสก้าสามารถหาซื้อรถมือสองได้ในราคาถูก แต่หายากมาก
ใน[[ประเทศไทย]] บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ จำกัด เคยนำอาสก้าเข้ามาจำหน่ายในประเทศไทย เมื่อเดือนมิถุนายนปี [[พ.ศ. 2527]] โดยเปิดตัวที่[[เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว]] (โรงแรมไฮแอท เซ็นทรัลพลาซา ซึ่งปัจจุบันคือ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว) และในภาพยนตร์โฆษณาของอาสก้าในประเทศไทยก็ถ่ายทำที่เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าวเช่นกัน แต่เป็นตึก[[โรงแรม]] ไม่ใช่[[ห้างสรรพสินค้า|ห้าง]] มี 2 รุ่นคือ LT 1.8 ลิตร และ LX 2.0 ลิตร และปรับโฉม Minorchange เมื่อปี [[พ.ศ. 2529]] ก่อนจะเลิกจำหน่ายในปี [[พ.ศ. 2531]] เนื่องจากการแข่งขันในตลาดรถยนต์นั่งสูงขึ้นเรื่อยๆ การนำเทคโนโลยีใหม่ๆ จากญี่ปุ่นมาจำหน่ายทำให้ต้นทุนสูงขึ้น อีซูซุเองก็ไม่สามารถยืนหยัดในการแข่งขันได้ง่ายๆ โดยรถรุ่นนี้ในสมัยนั้นพอจะขายได้ และมีกลุ่มลูกค้าที่อยากได้อยู่
{{clear}}
{{clear}}
== รุ่นที่ 2 ([[พ.ศ. 2533]]-[[พ.ศ. 2536|2536]]) ==
== รุ่นที่ 2 ([[พ.ศ. 2533]]-[[พ.ศ. 2536|2536]]) ==
[[ไฟล์:Isuzu Aska 12875.jpg|250px|thumbnail|right|อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 2]]
[[ไฟล์:Isuzu Aska 12875.jpg|250px|thumbnail|right|อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 2]]
อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 2 เริ่มผลิตเมื่อปี [[พ.ศ. 2533]] โดยรุ่นนี้ได้ใช้แพลตฟอร์มเดียวกันกับ[[ซูบารุ เลกาซี]] ใช้ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า และระบบขับเคลื่อนสี่ล้อ เนื่องจากใช้แพลตฟอร์มร่วมกับซูบารุ เลกาซี ซึ่งใช้ระบบขับเคลื่อนสี่ล้ออยู่แล้ว มีเครื่องยนต์ 1.8 และ 2.0 ลิตร โดยที่ไม่มีรุ่นเทอร์โบแต่อย่างใด ระบบเกียร์เป็นเกียร์ธรรมดา 5 สปีดและเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด
อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 2 เริ่มผลิตเมื่อปี [[พ.ศ. 2533]] โดยรุ่นนี้ทางอีซูซุได้สั่งซื้อ[[ซูบารุ เลกาซี]] มาจำหน่ายในยี่ห้อของตัวเอง ใช้ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า และระบบขับเคลื่อนสี่ล้อ เนื่องจากผลิตร่วมกับซูบารุ เลกาซี ซึ่งใช้ระบบขับเคลื่อนสี่ล้ออยู่แล้ว มีเครื่องยนต์ 1.8 และ 2.0 ลิตร โดยที่ไม่มีรุ่นเทอร์โบแต่อย่างใด ระบบเกียร์เป็นเกียร์ธรรมดา 5 สปีดและเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด

อย่างไรก็ตาม ในปี [[พ.ศ. 2534]] เป็นปีที่[[ประเทศญี่ปุ่น]]ประสบปัญหาเศรษฐกิจ ทำให้ยอดขายรถยนต์ต่ำลง อีซูซุที่มีรายได้จากการขายรถยนต์นั่งเพียง 10% และมีส่วนแบ่งการตลาดน้อยมาก อาสก้ารุ่นที่ 2 ก็ไม่ประสบความสำเร็จ ก็เริ่มถอดใจกับตลาดรถยนต์นั่ง จนมีข่าวลือจากสื่อมวลชนด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ว่าอีซูซุกำลังตัดสินใจเลิกผลิตรถยนต์นั่ง แล้วในที่สุดอีซูซุก็ทำเช่นนั้นจริงๆ ใน[[เดือนกรกฎาคม]] ปี [[พ.ศ. 2535]] โดยอีซูซุประกาศถอนตัวจากการแข่งขันในตลาดรถยนต์นั่ง เพื่อไปทุ่มเทให้กับตลาดที่ตนเองถนัดและประสบความสำเร็จคือ ตลาดรถกระบะ รถเอนกประสงค์ รถบรรทุก รถบัส และการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลอันเป็นงานที่สร้างกำไรให้พวกเขามากกว่า

นับเป็นการปิดตำนานอีซูซุในฐานะผู้ผลิตรถยนต์นั่งอย่างน่าเสียดาย เพราะในตลาดโลกอีซูซุไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร จนไม่คุ้มทุนที่จะพัฒนารถยนต์นั่งส่วนบุคคลอีกต่อไป
{{clear}}
{{clear}}
== รุ่นที่ 3 ([[พ.ศ. 2537]]-[[พ.ศ. 2540|2540]]) ==
== รุ่นที่ 3 ([[พ.ศ. 2537]]-[[พ.ศ. 2540|2540]]) ==
[[ไฟล์:ISUZU ASKA3-1.jpg|250px|thumbnail|right|อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 3]]
[[ไฟล์:ISUZU ASKA3-1.jpg|250px|thumbnail|right|อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 3]]
อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 3 เริ่มผลิตเมื่อปี [[พ.ศ. 2537]] โดยรุ่นนี้ได้ใช้แพลตฟอร์มร่วมกับ[[ฮอนด้า แอคคอร์ด]] เนื่องจากในขณะนั้น เป็นช่วงที่อีซูซุประกาศร่วมมือกับฮอนด้าในการผลิตรถยนต์พอดี ใช้ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า มีเครื่องยนต์ 2.0 ลิตร ระบบเกียร์เป็นเกียร์ธรรมดา 5 สปีด และเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด ความยาว 4,675 มม. ความกว้าง 1,760 มม. ความสูง 1,410 มม.
อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 3 เริ่มผลิตเมื่อปี [[พ.ศ. 2537]] ใช้ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า มีเครื่องยนต์ 2.0 ลิตร ระบบเกียร์เป็นเกียร์ธรรมดา 5 สปีด และเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด ความยาว 4,675 มม. ความกว้าง 1,760 มม. ความสูง 1,410 มม.

อาสก้ารุ่นนี้เป็นอาสก้ารุ่นแรกที่ทางฮอนด้าผลิตให้ เป็น 1 ในโครงการความร่วมมือระหว่างอีซูซุกับฮอนด้า เนื่องจากอีซูซุจำเป็นต้องรักษาฐานลูกค้ารถยนต์นั่งของตนเองไว้อยู่ ในขณะเดียวกันฮอนด้าก็คิดได้แล้วว่าตนเองต้องขยายไลน์รถยนต์ออกจากรถยนต์นั่งได้แล้ว ทั้งตลาด MPV ซึ่งฮอนด้าเปิดตัว[[ฮอนด้า โอดิสซีย์]]ในปี [[พ.ศ. 2537]] แต่สำหรับตลาด SUV ที่ในยุคนั้นคนนิยมใช้รถ SUV ที่สร้างขึ้นบนพิ้นฐานของรถกระบะ ฮอนด้ากลับไม่มีแผนพัฒนารถกระบะขนาดกลางที่ประเทศไทยนิยม ดังนั้นพวกเขาจึงต้องพัฒนา SUV จากพื้นฐานของรถเก๋งไปก่อน ในระหว่างการพัฒนา อีซูซุตัดสินใจส่งรถ SUV ให้กับฮอนด้าในตลาดญี่ปุ่น และรถกระบะในตลาดไทย ส่วนฮอนด้าก็ส่งรถเก๋งและรถ MPV ให้อีซูซุในตลาดญี่ปุ่นและไทย
{{clear}}
{{clear}}
== รุ่นที่ 4 ([[พ.ศ. 2541]]-[[พ.ศ. 2545|2545]]) ==
== รุ่นที่ 4 ([[พ.ศ. 2541]]-[[พ.ศ. 2545|2545]]) ==
[[ไฟล์:ISUZU ASKA4-1.jpg|250px|thumbnail|right|อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 4]]
[[ไฟล์:ISUZU ASKA4-1.jpg|250px|thumbnail|right|อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 4]]
อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 4 เริ่มผลิตเมื่อปี [[พ.ศ. 2541]] ยังคงใช้แพลตฟอร์มร่วมกับฮอนด้า แอคคอร์ดเช่นเดิม ใช้ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า เครื่องยนต์ 1.8 และ 2.0 ลิตร ใช้เกียร์ธรรมดา 5 สปีดและเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด ความยาว 4,635 มม. ความกว้าง 1,695 มม. ความสูง 1,420 มม. และเลิกผลิตไปเมื่อปี [[พ.ศ. 2545]] โดยที่ไม่มีรถรุ่นใหม่เข้ามาผลิตและจำหน่ายต่อ ถือเป็นการปิดตำนานรถยนต์นั่งของอีซูซุตั้งแต่บัดนั้น และแน่นอนแล้วว่าอีซูซุจะไม่มีการกลับมาผลิตรถยนต์นั่งจำหน่ายอีกต่อไป คงเหลือแต่การผลิตรถยนต์เพื่อการพาณิชย์และการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลเพื่อป้อนผู้ผลิตรายอื่นๆ โดยเฉพาะ GM เท่านั้น
อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 4 เริ่มผลิตเมื่อปี [[พ.ศ. 2541]] ใช้ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า เครื่องยนต์ 1.8 และ 2.0 ลิตร ใช้เกียร์ธรรมดา 5 สปีดและเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด ความยาว 4,635 มม. ความกว้าง 1,695 มม. ความสูง 1,420 มม. และเลิกผลิตไปเมื่อปี [[พ.ศ. 2545]] โดยที่ไม่มีรถรุ่นใหม่เข้ามาผลิตและจำหน่ายต่อ ถือเป็นการปิดตำนานรถยนต์นั่งของอีซูซุตั้งแต่บัดนั้น และแน่นอนแล้วว่าอีซูซุจะไม่มีการกลับมาผลิตรถยนต์นั่งจำหน่ายอีกต่อไป คงเหลือแต่การผลิตรถยนต์เพื่อการพาณิชย์และการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลเพื่อป้อนผู้ผลิตรายอื่นๆ โดยเฉพาะ GM เท่านั้น


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:47, 5 พฤษภาคม 2557

อีซูซุ อาสก้า
ภาพรวม
บริษัทผู้ผลิตอีซูซุ
เริ่มผลิตเมื่อพ.ศ. 2526 - 2545
ตัวถังและช่วงล่าง
รูปแบบตัวถังซีดาน 4 ประตู
รุ่นที่คล้ายกันโตโยต้า โคโรน่า/คัมรี่
ฮอนด้า แอคคอร์ด
นิสสัน เซฟิโร่/เทียน่า
มิตซูบิชิ กาแลนต์
มาสด้า 626/6
ซูบารุ เลกาซี
ซูซูกิ คิซาชิ
ฮุนได โซนาต้า/ไอ40
เกีย ออพติมา
แดวู เอสเปอโร/เลกันซา/แม็กนัส/ทอสก้า
เปอโยต์ 405/406/407/508
ซีตรอง BX/ซองเทีย/C5/DS5
โฟล์กสวาเกน พัสสาท
สโกด้า ซูเพิร์บ
ฟอร์ด มอนดิโอ/ทอรัส
เชฟโรเลต มาลีบู
โอเปิล เวคตร้า/ซิกนัม/อินซิกเนีย
โฮลเดน คอมมอเดอร์
วอลโว่ S60
ระยะเหตุการณ์
รุ่นก่อนหน้าอีซูซุ ฟลอเรี่ยน

อีซูซุ อาสก้า (อังกฤษ: Isuzu Aska) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลาง (Mid-Size Car) ที่ผลิตโดยอีซูซุ เริ่มการผลิตในปี พ.ศ. 2526 โดยใช้แพลตฟอร์มร่วมกับซูบารุ เลกาซี และฮอนด้า แอคคอร์ดตามลำดับ ออกมาเพื่อทดแทนอีซูซุ ฟลอเรี่ยน (อังกฤษ: Isuzu Florian) ที่ยุติการผลิตไปเมื่อปี พ.ศ. 2526 และอาสก้าได้เลิกผลิตและวางจำหน่ายเมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยไม่มีรถรุ่นใหม่เข้ามาทดแทน เนื่องจากอีซูซุเลิกทำตลาดรถยนต์นั่งอย่างถาวรแล้ว โดยเลิกผลิตรถยนต์นั่งด้วยตนเองตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 เนื่องจากการขาดทุนสะสมต่อเนื่อง และหลังจากนั้นก็มีการพึ่งพาฮอนด้าให้ผลิตรถยนต์นั่งขายมาโดยตลอด และอีซูซุก็ได้ส่งรถเอนกประสงค์และรถกระบะไปให้ฮอนด้าขายเช่นเดียวกัน จนในปัจจุบัน ความร่วมมือระหว่างอีซูซุกับฮอนด้าได้สิ้นสุดลงแล้ว

รุ่นที่ 1 (พ.ศ. 2526-2532)

อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 1

อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 1 เริ่มผลิตเมื่อปี พ.ศ. 2526 ใช้แพลตฟอร์มร่วมกับ GM (แบบ J-Car) มีตัวถังแบบเดียวคือซีดาน 4 ประตูเท่านั้น (เนื่องจากรุ่นเก่าฟลอเรี่ยน เคยทำตัวถังสเตชันวากอนออกมาแล้วขายไม่ดี) ใช้ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า มีเครื่องยนต์เบนซิน 1.8 และ 2.0 ลิตร และมีรุ่นเทอร์โบในรุ่น 2.0 ลิตรด้วย และเครื่องยนต์ดีเซล 2.0 ลิตร ระบบเกียร์เป็นเกียร์ธรรมดา 4 และ 5 สปีด เกียร์อัตโนมัติ 3 สปีด และเกียร์กึ่งอัตโนมัติ 3 สปีด

ในช่วงแรก อาสก้าวางจำหน่ายโดยใช้ชื่อ อีซูซุ ฟลอเรี่ยน อาสก้า ต่อมาจึงได้เปลี่ยนชื่อให้สั้นลง เป็น อีซูซุ อาสก้า และเป็นอาสก้ารุ่นเดียวที่พัฒนาเอง ร่วมกับเจนเนอรัล มอเตอร์ส

ในประเทศไทย บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ จำกัด เคยนำอาสก้าเข้ามาจำหน่ายในประเทศไทย เมื่อเดือนมิถุนายนปี พ.ศ. 2527 โดยเปิดตัวที่เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว (โรงแรมไฮแอท เซ็นทรัลพลาซา ซึ่งปัจจุบันคือ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว) และในภาพยนตร์โฆษณาของอาสก้าในประเทศไทยก็ถ่ายทำที่เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าวเช่นกัน แต่เป็นตึกโรงแรม ไม่ใช่ห้าง มี 2 รุ่นคือ LT 1.8 ลิตร และ LX 2.0 ลิตร และปรับโฉม Minorchange เมื่อปี พ.ศ. 2529 ก่อนจะเลิกจำหน่ายในปี พ.ศ. 2531 เนื่องจากการแข่งขันในตลาดรถยนต์นั่งสูงขึ้นเรื่อยๆ การนำเทคโนโลยีใหม่ๆ จากญี่ปุ่นมาจำหน่ายทำให้ต้นทุนสูงขึ้น อีซูซุเองก็ไม่สามารถยืนหยัดในการแข่งขันได้ง่ายๆ โดยรถรุ่นนี้ในสมัยนั้นพอจะขายได้ และมีกลุ่มลูกค้าที่อยากได้อยู่

รุ่นที่ 2 (พ.ศ. 2533-2536)

อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 2

อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 2 เริ่มผลิตเมื่อปี พ.ศ. 2533 โดยรุ่นนี้ทางอีซูซุได้สั่งซื้อซูบารุ เลกาซี มาจำหน่ายในยี่ห้อของตัวเอง ใช้ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า และระบบขับเคลื่อนสี่ล้อ เนื่องจากผลิตร่วมกับซูบารุ เลกาซี ซึ่งใช้ระบบขับเคลื่อนสี่ล้ออยู่แล้ว มีเครื่องยนต์ 1.8 และ 2.0 ลิตร โดยที่ไม่มีรุ่นเทอร์โบแต่อย่างใด ระบบเกียร์เป็นเกียร์ธรรมดา 5 สปีดและเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด

อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2534 เป็นปีที่ประเทศญี่ปุ่นประสบปัญหาเศรษฐกิจ ทำให้ยอดขายรถยนต์ต่ำลง อีซูซุที่มีรายได้จากการขายรถยนต์นั่งเพียง 10% และมีส่วนแบ่งการตลาดน้อยมาก อาสก้ารุ่นที่ 2 ก็ไม่ประสบความสำเร็จ ก็เริ่มถอดใจกับตลาดรถยนต์นั่ง จนมีข่าวลือจากสื่อมวลชนด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ว่าอีซูซุกำลังตัดสินใจเลิกผลิตรถยนต์นั่ง แล้วในที่สุดอีซูซุก็ทำเช่นนั้นจริงๆ ในเดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ. 2535 โดยอีซูซุประกาศถอนตัวจากการแข่งขันในตลาดรถยนต์นั่ง เพื่อไปทุ่มเทให้กับตลาดที่ตนเองถนัดและประสบความสำเร็จคือ ตลาดรถกระบะ รถเอนกประสงค์ รถบรรทุก รถบัส และการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลอันเป็นงานที่สร้างกำไรให้พวกเขามากกว่า

นับเป็นการปิดตำนานอีซูซุในฐานะผู้ผลิตรถยนต์นั่งอย่างน่าเสียดาย เพราะในตลาดโลกอีซูซุไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร จนไม่คุ้มทุนที่จะพัฒนารถยนต์นั่งส่วนบุคคลอีกต่อไป

รุ่นที่ 3 (พ.ศ. 2537-2540)

อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 3

อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 3 เริ่มผลิตเมื่อปี พ.ศ. 2537 ใช้ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า มีเครื่องยนต์ 2.0 ลิตร ระบบเกียร์เป็นเกียร์ธรรมดา 5 สปีด และเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด ความยาว 4,675 มม. ความกว้าง 1,760 มม. ความสูง 1,410 มม.

อาสก้ารุ่นนี้เป็นอาสก้ารุ่นแรกที่ทางฮอนด้าผลิตให้ เป็น 1 ในโครงการความร่วมมือระหว่างอีซูซุกับฮอนด้า เนื่องจากอีซูซุจำเป็นต้องรักษาฐานลูกค้ารถยนต์นั่งของตนเองไว้อยู่ ในขณะเดียวกันฮอนด้าก็คิดได้แล้วว่าตนเองต้องขยายไลน์รถยนต์ออกจากรถยนต์นั่งได้แล้ว ทั้งตลาด MPV ซึ่งฮอนด้าเปิดตัวฮอนด้า โอดิสซีย์ในปี พ.ศ. 2537 แต่สำหรับตลาด SUV ที่ในยุคนั้นคนนิยมใช้รถ SUV ที่สร้างขึ้นบนพิ้นฐานของรถกระบะ ฮอนด้ากลับไม่มีแผนพัฒนารถกระบะขนาดกลางที่ประเทศไทยนิยม ดังนั้นพวกเขาจึงต้องพัฒนา SUV จากพื้นฐานของรถเก๋งไปก่อน ในระหว่างการพัฒนา อีซูซุตัดสินใจส่งรถ SUV ให้กับฮอนด้าในตลาดญี่ปุ่น และรถกระบะในตลาดไทย ส่วนฮอนด้าก็ส่งรถเก๋งและรถ MPV ให้อีซูซุในตลาดญี่ปุ่นและไทย

รุ่นที่ 4 (พ.ศ. 2541-2545)

อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 4

อีซูซุ อาสก้า รุ่นที่ 4 เริ่มผลิตเมื่อปี พ.ศ. 2541 ใช้ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า เครื่องยนต์ 1.8 และ 2.0 ลิตร ใช้เกียร์ธรรมดา 5 สปีดและเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด ความยาว 4,635 มม. ความกว้าง 1,695 มม. ความสูง 1,420 มม. และเลิกผลิตไปเมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยที่ไม่มีรถรุ่นใหม่เข้ามาผลิตและจำหน่ายต่อ ถือเป็นการปิดตำนานรถยนต์นั่งของอีซูซุตั้งแต่บัดนั้น และแน่นอนแล้วว่าอีซูซุจะไม่มีการกลับมาผลิตรถยนต์นั่งจำหน่ายอีกต่อไป คงเหลือแต่การผลิตรถยนต์เพื่อการพาณิชย์และการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลเพื่อป้อนผู้ผลิตรายอื่นๆ โดยเฉพาะ GM เท่านั้น

อ้างอิง