ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอรีส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
| Roman_equivalent = [[มาร์ส]]
| Roman_equivalent = [[มาร์ส]]
}}
}}
'''แอรีส''' ({{lang-en|Ares}} {{IPA|/ˈɛəriz/}}; {{lang-grc|Ἄρης}}) ทรงเป็นเทพแห่งสงครามของกรีก ทรงเป็นหนึ่งใน[[เทวสภาโอลิมปัส|สิบสองพระเจ้าโอลิมปัส]] และพระโอรสของ[[ซูส]]และ[[ฮีรา]] ในวรรณกรรมกรีก พระองค์มักเป็นสัญลักษณ์ของแง่มุมกายภาพหรือความรุนแรงและไม่สงบของสงคราม ขัดกับ[[อะธีนา]] ผู้ทรงเป็นเทพีแห่งปัญญา รวมทั้งยุทธศาสตร์การทหารและตำแหน่งอำนาจแม่ทัพ
'''แอรีส''' ({{lang-en|Ares}} {{IPA|/ˈɛəriz/}}) หรือที่ชาว[[โรมัน]]เรียกว่า '''[[มาร์ส]]''' (Mars) เป็นเทพเจ้าแห่ง[[สงคราม]] [[อาวุธ]] และ[[ชุดเกราะ]] และเป็นหนึ่งใน[[เทวสภาโอลิมปัส|พระเจ้าโอลิมปัส]]


ชาวกรีกมีความรู้สึกไม่ชัดเจนต่อแอรีส แม้พระองค์จะทรงมีความกล้าทางกายซึ่งจำเป็นต่อความสำเร็จในสงคราม พระองค์เป็นพลังที่อันตราย "ท่วมท้น ละโมบในการยุทธ์ ทำลายล้างและฆ่าคน" ความกลัว ([[โฟบอส (เทพปกรณัม)|โฟบอส]]) และความสยองขวัญ ([[ไดมอส (เทพปกรณัม)|ไดมอส]]) พระโอรส และความแตกสามัคคี ([[Enyo|เอนีโอ]]) คนรักและพระกนิษฐภคินี เดินทางไปกับพระองค์ด้วยบนรถม้าศึก ใน''[[อีเลียด]]'' ซูสพระบิดาตรัสแก่แอรีสว่า พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าที่ซูสเกลียดที่สุด สถานที่หรือวัตถุที่สัมพันธ์กับแอรีสทำให้สถานที่หรือวัตถุนั้นมีคุณภาพโหดร้าย อันตรายหรือเป็นทหาร คุณค่าของพระองค์ในฐานะพระเจ้าแห่งสงครามกลายเป็นที่กังขา เพราะใน[[สงครามกรุงทรอย]] แอรีสทรงอยู่ข้างที่ปราชัย ขณะที่อะธีนา ซึ่งมักพรรณนาในศิลปะกรีกโดยถือชัยชนะ ([[ไนกี]]) อยู่ในพระหัตถ์ อยู่ฝ่ายกรีกผู้ชนะ
แอรีส เป็นเทพแห่งการสงครามเช่นเดียวกับ[[อะธีนา]] ทว่าอะธีนาได้รับการยกย่องและบูชามากกว่า เนื่องจากอะธีนาเป็นเทพีที่ใช้สติปัญญาวางแผนในการสู้รบมากกว่า และยังเป็นเทพีแห่งสติปัญญาด้วย ผิดกับแอรีสซึ่งมักใช้ความดุดันและโหดร้ายในการสงคราม ซึ่ง[[โฮเมอร์]] กวีเอกคนสำคัญของกรีกโบราณ ยังเคยเขียนถึงพระองค์ว่า เป็นเทพที่โหดร้ายและหยาบช้า

แอรีสเป็นบุตรของ[[ซูส]]และ[[ฮีรา]] แอรีสเป็นเทพที่ชาวกรีกไม่นับถือบูชา เพราะถือว่าเป็นเทพที่โหดร้ายและมีเรื่องราวที่น่าอับอายเกี่ยวกับพระองค์มาก และแม้จะเป็นเทพแห่งสงคราม แอรีสก็รบแพ้ในการสงครามหลายครั้ง ทั้งแก่[[มนุษย์]]กึ่งเทพเองอย่าง [[เฮราคลีส]]และกับอะธีน่า เทพีแห่งสงคราม พี่น้องของพระองค์เอง ในทางด้านชู้สาว พระองค์ลักลอบมีชู้กับเทพี[[แอโฟรไดที]]จนเป็นเรื่องราวใหญ่โตให้อับอายไปทั้ง[[สวรรค์]]

แอรีส เมื่อเสด็จไปไหน จะใช้รถศึกเทียมม้าฝีเท้าจัดมากมาย แสงเกราะและแสงศาตราวุธส่องแสงเจิดจ้าบาดตาผู้พบเห็น มีบริวารที่ติดสอยห้อยตามอยู่ 2 คนคือ [[ดีมอส (เทพปกรณัมกรีก)|ดีมอส]] (Deimos) ซึ่งแปลว่าความกลัว กับ[[โฟบอส (เทพปกรณัมกรีก)|โฟบอส]] (Phobos) แปลว่าความน่าสยองขวัญ บางตำนานก็กล่าวว่า ทั้งดีมอสและโฟบอสเป็นบุตรชาย[[ฝาแฝด]]ของแอรีส และชื่อของทั้งคู่ก็เป็นรากศัพท์ของคำว่าความตื่นตระหนก (Panic) และ[[กลัว|ความกลัว]] (Phobia)


== ใน[[วัฒนธรรมสมัยนิยม]] ==
== ใน[[วัฒนธรรมสมัยนิยม]] ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:46, 25 เมษายน 2557

แอรีส
เทพแห่งสงคราม
รูปปั้นแอรีส
ที่ประทับยอดเขาโอลิมปัส, เธรซ, มาซิโดเนีย, ธีปส์, สปาร์ตา และคาบสมุทรแมนิ
สัญลักษณ์หอก, หมวกเกราะ, สุนัข, รถม้า, หมูป่า, แร้ง
ข้อมูลส่วนบุคคล
บุตร - ธิดาเอะรอเทส (เอียรอสและแอนเทอรอส), โฟบอส, ไดมอส, Phlegyas, ฮาร์โมเนีย, and Adrestia
บิดา-มารดาซูสและฮีรา
พี่น้องอีริส, อะธีนา, อะพอลโล, อาร์ทิมิส, แอโฟรไดที, ไดอะไนซัส, ฮีบี, เฮอร์มีส, เฮราคลีส, เฮเลนแห่งทรอย, ฮิฟีสตัส, เพอร์ซิอัส, ไมนอส, มิวส์, แคริทีส, เอนีโอ และอิลิไธอา
เทียบเท่าในโรมันมาร์ส

แอรีส (อังกฤษ: Ares /ˈɛəriz/; กรีกโบราณ: Ἄρης) ทรงเป็นเทพแห่งสงครามของกรีก ทรงเป็นหนึ่งในสิบสองพระเจ้าโอลิมปัส และพระโอรสของซูสและฮีรา ในวรรณกรรมกรีก พระองค์มักเป็นสัญลักษณ์ของแง่มุมกายภาพหรือความรุนแรงและไม่สงบของสงคราม ขัดกับอะธีนา ผู้ทรงเป็นเทพีแห่งปัญญา รวมทั้งยุทธศาสตร์การทหารและตำแหน่งอำนาจแม่ทัพ

ชาวกรีกมีความรู้สึกไม่ชัดเจนต่อแอรีส แม้พระองค์จะทรงมีความกล้าทางกายซึ่งจำเป็นต่อความสำเร็จในสงคราม พระองค์เป็นพลังที่อันตราย "ท่วมท้น ละโมบในการยุทธ์ ทำลายล้างและฆ่าคน" ความกลัว (โฟบอส) และความสยองขวัญ (ไดมอส) พระโอรส และความแตกสามัคคี (เอนีโอ) คนรักและพระกนิษฐภคินี เดินทางไปกับพระองค์ด้วยบนรถม้าศึก ในอีเลียด ซูสพระบิดาตรัสแก่แอรีสว่า พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าที่ซูสเกลียดที่สุด สถานที่หรือวัตถุที่สัมพันธ์กับแอรีสทำให้สถานที่หรือวัตถุนั้นมีคุณภาพโหดร้าย อันตรายหรือเป็นทหาร คุณค่าของพระองค์ในฐานะพระเจ้าแห่งสงครามกลายเป็นที่กังขา เพราะในสงครามกรุงทรอย แอรีสทรงอยู่ข้างที่ปราชัย ขณะที่อะธีนา ซึ่งมักพรรณนาในศิลปะกรีกโดยถือชัยชนะ (ไนกี) อยู่ในพระหัตถ์ อยู่ฝ่ายกรีกผู้ชนะ

ในวัฒนธรรมสมัยนิยม

  • ในวิดีโอเกมชุดก็อดออฟวอร์ เอรีสเป็นตัวร้ายซึ่งมีบทบาทสำคัญในภาคแรก โดยในอดีตนั้นเอรีสได้ช่วยชีวิตของเครโทส ตัวเอกของเรื่องซึ่งเป็นแม่ทัพแห่งสปาร์ตาจากราชาแห่งคนเถื่อน แต่เครโทสก็ต้องแลกมาด้วยการการออกรบอย่างไร้สติในนามของเอรีส จนกระทั่งเอรีสได้ทำให้เครโทสฆ่าบุตรีและภรรยาของตนเอง จึงถูกมารดาของเครโทสได้สาปให้เถ้าถ่านของบุตรีและภรรยาคลุมร่างของเครโทสไว้ทำให้เครโทสต้องอยู่กับความรู้สึกผิดตลอดเวลา เครโทสจึงได้ปฏิบัติภารกิจในนามของเหล่าเทพถึงสิบปีเพื่อหวังจะล้างคำสาป ซึ่งภารกิจสุดท้ายของเครโทสก็คือการช่วยเหลืออธีน่าปกป้องเมืองเอเธนส์จากเอรีสนั่นเอง ซึ่งในที่สุดแล้วเครโทสก็สามารถสังหารเอรีสได้และได้รับการยกขึ้นเป็นเทพสงครามแทนเอรีส

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link FA