ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามไครเมีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 78: บรรทัด 78:
{{โครงประวัติศาสตร์}}
{{โครงประวัติศาสตร์}}


[[หมวดหมู่:สงคราม|คไครเมีย]]
[[หมวดหมู่:สงครามไครเมีย| ]]
[[หมวดหมู่:สงครามสมัยใหม่]]
[[หมวดหมู่:สงครามในคริสต์ศตวรรษที่ 19]]


{{Link FA|sl}}
{{Link FA|sl}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:13, 27 มีนาคม 2557

สงครามไครเมีย

ภาพวาดพาโนรามา The Siege of Sevastopol (1904)
วันที่ตุลาคม ค.ศ. 1853 – กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1856
สถานที่
ผล ฝ่ายพันธมิตรได้รับชัยชนะ, สนธิสัญญาปารีส
คู่สงคราม
 รัสเซีย
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
กำลัง
รวม: 1,000,000
  • Flag of France 400,000 French
  • จักรวรรดิออตโตมัน 300,000 Ottoman
  • สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ 250,000 British
  • พีดมอนต์-ซาร์ดิเนีย 15,000 Sardinians
  • War flag of the German Confederation 4,250 German legion
  • Flag of Switzerland 2,200 Swiss legion
  • Modern flag of Italy 2,000 Italian legion
  • Modern flag of Poland 1,500 Polish legion
รวม: 720,000
  • จักรวรรดิรัสเซีย 700,000 Russians[1]
  • Flag of the First Bulgarian Legion, 1862 3,000 Bulgarian legion
  • ราชรัฐมอนเตเนโกร 2,000 Serbian-Montenegrin legion
  • ราชอาณาจักรกรีซ 1,000 Greek legion
ความสูญเสีย

รวม: เสียชีวิต 300,000–375,000 นาย[2]

 จักรวรรดิออตโตมัน
Total dead est. 175,300[1]

ฝรั่งเศส French Empire
Total dead: 95,000,[2] of which:
10,240 killed in action;
20,000 died of wounds;
c. 60,000 died of disease

 British Empire
Total dead: 21,097 of which :
2,755 killed in action;
2,019 died of wounds;
16,323 died of disease

 ซาร์ดีเนีย
2,050 died from all causes[3]
total dead est. 50,000[4]
รวม: เสียชีวิต 220,000 นาย:
80,000 killed in action
40,000 died of wounds
100,000 died of disease[5]

สงครามไครเมีย (อังกฤษ: Crimean War, ตุลาคม ค.ศ. 1853 – กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1856)[6][7] เป็นสงครามระหว่างจักรวรรดิรัสเซียฝ่ายหนึ่ง กับพันธมิตรอันประกอบด้วยจักรวรรดิฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ จักรวรรดิออตโตมัน และราชอาณาจักรซาร์ดิเนียอีกฝ่ายหนึ่ง สงครามนี้เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันอันยาวนานระหว่างมหาอำนาจยุโรปเพื่อมีอิทธิพลเหนือดินแดนของออตโตมันที่เสื่อมอำนาจลง สงครามส่วนใหญ่เกิดขึ้นในคาบสมุทรไครเมีย แต่ยังมีการทัพขนาดเล็กในอนาโตเลียตะวันตก คอเคซัส ทะเลบอลติก มหาสมุทรแปซิฟิก และทะเลขาว

สงครามไครเมียเป็นที่รู้จักกันเนื่องด้วยข้อผิดพลาดทางพลาธิการและยุทธวิธีระหว่างการทัพทางบกของทั้งสองฝ่าย ส่วนกองทัพเรือนั้น การทัพฝ่ายสัมพันธมิตรประสบความสำเร็จในการทำลายเรือส่วนใหญ่ของกองทัพเรือรัสเซียในทะเลดำ แม้กระนั้น บางครั้งสงครามดังกล่าวถูกมองว่าเป็นหนึ่งในสงคราม "สมัยใหม่" ครั้งแรก ๆ เพราะมัน "ได้นำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางเทคนิคซึ่งส่งผลกระทบต่อเส้นทางสงครามในอนาคต" ซึ่งรวมไปถึงการใช้ทางรถไฟและโทรเลขในทางยุทธวิธีเป็นครั้งแรกด้วย[8] นอกจากนี้ สงครามดังกล่าวยังมีชื่อเสียงจากผลงานของฟลอเรนซ์ ไนติงเกลและแมรี ซีโคล ผู้บุกเบิกการประกอบกิจพยาบาลขณะให้การดูแลทหารอังกฤษที่ได้รับบาดเจ็บ[9]

สงครามไครเมียเป็นหนึ่งในสงครามครั้งแรก ๆ ที่มีการบันทึกอย่างกว้างขวาง ทั้งเป็นลายลักษณ์อักษรและภาพถ่าย ที่โดดเด่นเป็นผลงานของวิลเลียม รัสเซลล์ ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์เดอะไทมส์ และโรเจอร์ เฟนตัน ตามลำดับ ข่าวส่งถึงอังกฤษจากไครเมียเป็นครั้งแรกที่สาธารณชนได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นไปของสงครามแบบวันต่อวัน

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Военная Энциклопедия, М., Воениздат 1999, т.4, стр.315
  2. 2.0 2.1 Napoleon III, Pierre Milza, Perrin edition, 2004
  3. John Sweetman, Crimean War, Essential Histories 2, Osprey Publishing, 2001, ISBN 1-84176-186-9, p.89
  4. Clive Pointing, The Crimean War: The Truth Behind the Myth, Chatto & Windus, London, 2004, ISBN 0-7011-7390-4, p.344
  5. Зайончковский А. М. Восточная война 1853—1856. СПб:Полигон, 2002
  6. Kinglake (1863:354)
  7. Sweetman (2001:7)
  8. Royle. Preface
  9. Oxford Dictionary of National Biography.

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link GA