ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:


ก่อนหน้าการสถาปนาตำแหน่งประธานาธิบดี ประมุขแห่งรัฐสหภาพโซเวียตโดยนิตินัยคือ ประธานคณะผู้บริหารสูงสุดของสภาโซเวียตสูงสุด (Presidium of the Supreme Soviet) ซึ่งสื่อนอกโซเวียตมักเรียกว่า "ประธานาธฺบดี" ทว่าเกือบระยะเวลาของสหภาพโซเวียต อำนาจการเมืองฝ่ายบริหารที่มีผลทั้งหมดอยู่ในมือของเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียต โดยประธานคณะผู้บริหารสูงสุดใช้อำนาจในหน้าที่เชิงสัญลักษณ์และแต่ในนามเป็นส่วนมาก เลขาธิการพรรคสี่คนสุดท้ายตั้งแต่ปี 2520 [[เลโอนิด เบรจเนฟ]], [[ยูริ อันโดรปอฟ]], [[คอนสตันติน เชียร์เนนโค]]และกอร์บาชอฟดำรงตำแหน่งเป็นประมุขแห่งรัฐโดยนิตินัยร่วมกับเลขาธิการพรรคระหว่างสมัยดำรงตำแหน่งด้วย
ก่อนหน้าการสถาปนาตำแหน่งประธานาธิบดี ประมุขแห่งรัฐสหภาพโซเวียตโดยนิตินัยคือ ประธานคณะผู้บริหารสูงสุดของสภาโซเวียตสูงสุด (Presidium of the Supreme Soviet) ซึ่งสื่อนอกโซเวียตมักเรียกว่า "ประธานาธฺบดี" ทว่าเกือบระยะเวลาของสหภาพโซเวียต อำนาจการเมืองฝ่ายบริหารที่มีผลทั้งหมดอยู่ในมือของเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียต โดยประธานคณะผู้บริหารสูงสุดใช้อำนาจในหน้าที่เชิงสัญลักษณ์และแต่ในนามเป็นส่วนมาก เลขาธิการพรรคสี่คนสุดท้ายตั้งแต่ปี 2520 [[เลโอนิด เบรจเนฟ]], [[ยูริ อันโดรปอฟ]], [[คอนสตันติน เชียร์เนนโค]]และกอร์บาชอฟดำรงตำแหน่งเป็นประมุขแห่งรัฐโดยนิตินัยร่วมกับเลขาธิการพรรคระหว่างสมัยดำรงตำแหน่งด้วย

เดิมประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งโดยสภาประชาชน (Congress of People's Deputies)<ref>[http://constitution.garant.ru/history/ussr-rsfsr/1977/zakony/185465/#300 Soviet Law from 14 March 1990 N 1360-I "On establishment of the Presidency of the Soviet Union and amendments and additions to the Constitution (Basic Law) of the Soviet Union". Article III]</ref> และประธานาธิบดีเป็นประธานของสภาดังกล่าวโดยตำแหน่ง ทว่าการเลือกตั้งครั้งถัดมาทั้งหมดมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน<ref name="Const">[http://constitution.garant.ru/history/ussr-rsfsr/1977/red_1977/1549448/chapter/16/#1510 1977 Soviet Constitution with amendments of 1989—1990. Chapter 15.1: President of the Soviet Union]</ref>

รองประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต คือ เกนนาดี ยานาเยฟ ผู้ยึดอำนาจกอร์บาชอฟเป็นประธานาธิบดีในความพยายามรัฐประหารปี 2534 เป็นคณะกรรมาธิการสถานการณ์ฉุกเฉินแห่งรัฐ (State Committee of the State of Emergency)


== รายนาม ==
== รายนาม ==
{| class="wikitable" width=55%
{| class="wikitable"
! width=1% | ที่
! width=75px| รูป
! width=30% | ชื่อ<br><small>(เกิด–เสียชีวิต)
! width=20% | ดำรงตำแหน่ง
! width=20% | สิ้นสุดตำแหน่ง
|-
|-
! style="background:{{Communist Party of the Soviet Union/meta/color}}; color:white"| 1
! scope="col" style="width:20em;" |ชื่อ<br>(เกิด–เสียชีวิต)
| align="center"| [[ไฟล์: RIAN archive 850809 General Secretary of the CPSU CC M. Gorbachev (crop).jpg|75px|center]]
! scope="col" style="width:1em;" | ภาพ
| align="center"| '''[[มีฮาอิล กอร์บาชอฟ]]'''<br><small>(2474–)

| align="center"| 15 มีนาคม 2533
|-! scope="row" style="font-weight:normal;"
| align="center"| 25 ธันาวคม 2534
! scope="row" style="font-weight:normal;"| [[มีฮาอิล กอร์บาชอฟ]]<br>(born 1931)<ref>{{Cite book | author = [[Robert Service (historian)|Service, Robert]] | title = History of Modern Russia: From Tsarism to the Twenty-first Century | publisher = [[Penguin Books Ltd]] | year = 2009 | isbn = 978-0141037970 | page = 435 }}</ref>
|-
| [[ไฟล์:Mikhail Gorbachev 1987.jpg|90px|alt=A man in a grey suit, white shirt and dark tie, he has a birthmark on his forehead]]
! style="background:{{Communist Party of the Soviet Union/meta/color}}; color:white"| –
| align="center"| [[ไฟล์: Gennady Yanayev.jpg|75px|center]]
| align="center"| [[เกนนาดี ยานาเยฟ]] (ผู้ยึดอำนาจ) <br><small>(2480–2553)
| align="center"| 19 สิงหาคม 1991
| align="center"| 21 สิงหาคม 1991
|}
|}

==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:50, 26 มีนาคม 2557

ประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต ([Президент Советского Союза, Prezident Sovetskogo Soyuza] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ประธานาธิบดีสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (รัสเซีย: Президент Союза Советских Социалистических Республик) เป็นประมุขแห่งรัฐของสหภาพโซเวียตตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม 2533 ถึง 25 ธันวาคม 2534 มีฮาอิล กอร์บาชอฟเป็นบุคคลเดียวที่ดำรงตำแหน่งดังกล่าว นอกจากนี้กอร์บาชอฟยังเป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียตระหว่างเดือนมีนาคม 2528 ถึงเดือนสิงหาคม 2534 เขาได้รับส่วนแบ่งอำนาจเพิ่มขึ้นจากตำแหน่งประธานาธิบดีกระทั่งเขาลาออกหลังความพยายามรัฐประหารในโซเวียตเมื่อปี 2534

ตำแหน่งประธานาธิบดีเป็นตำแหน่งบริหาร โดยยึดตามระบบประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาและฝรั่งเศสผสมกัน

ก่อนหน้าการสถาปนาตำแหน่งประธานาธิบดี ประมุขแห่งรัฐสหภาพโซเวียตโดยนิตินัยคือ ประธานคณะผู้บริหารสูงสุดของสภาโซเวียตสูงสุด (Presidium of the Supreme Soviet) ซึ่งสื่อนอกโซเวียตมักเรียกว่า "ประธานาธฺบดี" ทว่าเกือบระยะเวลาของสหภาพโซเวียต อำนาจการเมืองฝ่ายบริหารที่มีผลทั้งหมดอยู่ในมือของเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียต โดยประธานคณะผู้บริหารสูงสุดใช้อำนาจในหน้าที่เชิงสัญลักษณ์และแต่ในนามเป็นส่วนมาก เลขาธิการพรรคสี่คนสุดท้ายตั้งแต่ปี 2520 เลโอนิด เบรจเนฟ, ยูริ อันโดรปอฟ, คอนสตันติน เชียร์เนนโคและกอร์บาชอฟดำรงตำแหน่งเป็นประมุขแห่งรัฐโดยนิตินัยร่วมกับเลขาธิการพรรคระหว่างสมัยดำรงตำแหน่งด้วย

เดิมประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งโดยสภาประชาชน (Congress of People's Deputies)[1] และประธานาธิบดีเป็นประธานของสภาดังกล่าวโดยตำแหน่ง ทว่าการเลือกตั้งครั้งถัดมาทั้งหมดมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน[2]

รองประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต คือ เกนนาดี ยานาเยฟ ผู้ยึดอำนาจกอร์บาชอฟเป็นประธานาธิบดีในความพยายามรัฐประหารปี 2534 เป็นคณะกรรมาธิการสถานการณ์ฉุกเฉินแห่งรัฐ (State Committee of the State of Emergency)

รายนาม

ที่ รูป ชื่อ
(เกิด–เสียชีวิต)
ดำรงตำแหน่ง สิ้นสุดตำแหน่ง
style="background:แม่แบบ:Communist Party of the Soviet Union/meta/color; color:white"| 1
มีฮาอิล กอร์บาชอฟ
(2474–)
15 มีนาคม 2533 25 ธันาวคม 2534
style="background:แม่แบบ:Communist Party of the Soviet Union/meta/color; color:white"| –
เกนนาดี ยานาเยฟ (ผู้ยึดอำนาจ)
(2480–2553)
19 สิงหาคม 1991 21 สิงหาคม 1991

อ้างอิง