ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
| website = http://www.mepasie.org/
| website = http://www.mepasie.org/
}}
}}
'''คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส'''<ref name="ประวัติความเป็นมาคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส">[http://haab.catholic.or.th/MissionMEP/historymep.html ประวัติความเป็นมาคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส], หอจดหมายเกตุ [[เขตมิสซังกรุงเทพฯ|มิสซังคาทอลิกกรุงเทพฯ]], เรียกข้อมูลวันที่ 20 ก.ย. 2555</ref> ({{lang-fr|Missions Étrangères de Paris (M.E.P)}}) เป็น[[คณะชีวิตแพร่ธรรม]]ของ[[คริสตจักร]][[โรมันคาทอลิก]] (ไม่ใช่[[คณะนักบวชคาทอลิก]]) สมาชิกประกอบด้วย[[บาทหลวง]]ประจำ[[มุขมณฑล]]และ[[ฆราวาส]]ที่อุทิศตนทำงานเป็น[[มิชชันนารี]]ในต่างประเทศ<ref name="Asia">[http://books.google.com/books?id=PjVKjJ-WgOYC&pg=RA1-PA412&dq=%22Fran%C3%A7ois+Pallu%22&sig=ACfU3U0xK-s9ft_182X46hn-jYBrN9dz_w#PPA231,M1 ''Asia in the Making of Europe'', p.231]</ref>
'''คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส'''<ref name="ประวัติความเป็นมาคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส">[http://haab.catholic.or.th/MissionMEP/historymep.html ประวัติความเป็นมาคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส], หอจดหมายเกตุ [[เขตมิสซังกรุงเทพฯ|มิสซังคาทอลิกกรุงเทพฯ]], เรียกข้อมูลวันที่ 20 ก.ย. 2555</ref> ({{lang-fr|Missions Étrangères de Paris; M.E.P}}) เป็น[[คณะชีวิตแพร่ธรรม]]ของ[[คริสตจักร]][[โรมันคาทอลิก]] (ไม่ใช่[[คณะนักบวชคาทอลิก]]) สมาชิกประกอบด้วย[[บาทหลวง]]ประจำ[[มุขมณฑล]]และ[[ฆราวาส]]ที่อุทิศตนทำงานเป็น[[มิชชันนารี]]ในต่างประเทศ<ref name="Asia">[http://books.google.com/books?id=PjVKjJ-WgOYC&pg=RA1-PA412&dq=%22Fran%C3%A7ois+Pallu%22&sig=ACfU3U0xK-s9ft_182X46hn-jYBrN9dz_w#PPA231,M1 ''Asia in the Making of Europe'', p.231]</ref>


คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสก่อตั้งราว ค.ศ. 1658-63 ในปี ค.ศ. 1659 [[สมณะกระทรวงเผยแพร่ความเชื่อ]]ได้มีคำสั่งตั้งคณะอย่างเป็นทางการ และให้อภิสิทธิ์ว่าถ้าคณะนี้ไปเผยแผ่ศาสนาในดินแดน[[อาณานิคม]]ของ[[ประเทศสเปน]]และ[[โปรตุเกส]]ก็ไม่ต้องขึ้นกับประเทศเจ้าอาณานิคม (แต่ขึ้นกับ[[สันตะสำนัก]]อย่างเดียว) นับตั้งแต่ก่อตั้งมาภายในเวลา 350 ปี คณะก็ได้ส่งบาทหลวงมิชชันนารีไปเผยแผ่[[ศาสนาคริสต์]]ใน[[ทวีปเอเชีย]]และอเมริการวมแล้วไม่ต่ำกว่า 4,200 คน โดยมี[[พันธกิจ]]หลักคือการปรับเปลี่ยนจารีตประเพณีของชนท้องถิ่น บวชคนพื้นเมืองเป็นนักบวช และปฏิบัติตามนโยบายของสันตะสำนักอย่างเคร่งครัด<ref name="Missions">Missions, p.4</ref>
คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสก่อตั้งราว ค.ศ. 1658-63 ในปี ค.ศ. 1659 [[สมณะกระทรวงเผยแพร่ความเชื่อ]]ได้มีคำสั่งตั้งคณะอย่างเป็นทางการ และให้อภิสิทธิ์ว่าถ้าคณะนี้ไปเผยแผ่ศาสนาในดินแดน[[อาณานิคม]]ของ[[ประเทศสเปน]]และ[[โปรตุเกส]]ก็ไม่ต้องขึ้นกับประเทศเจ้าอาณานิคม (แต่ขึ้นกับ[[สันตะสำนัก]]อย่างเดียว) นับตั้งแต่ก่อตั้งมาภายในเวลา 350 ปี คณะก็ได้ส่งบาทหลวงมิชชันนารีไปเผยแผ่[[ศาสนาคริสต์]]ใน[[ทวีปเอเชีย]]และอเมริการวมแล้วไม่ต่ำกว่า 4,200 คน โดยมี[[พันธกิจ]]หลักคือการปรับเปลี่ยนจารีตประเพณีของชนท้องถิ่น บวชคนพื้นเมืองเป็นนักบวช และปฏิบัติตามนโยบายของสันตะสำนักอย่างเคร่งครัด<ref name="Missions">Missions, p.4</ref>
บรรทัด 22: บรรทัด 22:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
บาทหลวง[[อาแล็กซองดร์ เดอ รอด]] [[มิชชันนารี]][[คณะแห่งพระเยซูเจ้า]]ซึ่งทำ[[การประกาศข่าวดี]]ในภูมิภาค[[ตะวันออกไกล]]ในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 17]] เห็นว่าควรโปรด[[ศีลอนุกรม]]ให้แก่คนพื้นเมือง [[คริสตจักรท้องถิ่น]]จะได้เติบโตก้าวหน้าต่อไป จึงเดินทางไปกรุงโรม เพื่อขอให้[[สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 10]] ทรงแต่งตั้ง[[มุขนายก]][[ผู้แทนพระสันตะปาปา]]ไปปกครอง[[สำนักมิสซัง]]ในภูมิภาคนั้น พระสันตะปาปาจึงให้บาทหลวงเดอ รอด เป็นผู้สรรหาบุคคลมาทำหน้าที่ บาทหลวงเดอ รอด ชักชวน[[ฟร็องซัว ปาลูว์]] และ[[ปีแยร์ ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต]] ทั้งสองได้รับ[[การอภิเษก]]เป็น[[มุขนายก]]ในปี ค.ศ. 1658 โดยมุขนายกปาลูว์เป็นประมุขมิสซัง[[ตังเกี๋ย]] และมุขนายกเดอ ลา ม็อต ปกครองมิสซัง[[โคชินจีน]] จึงถือว่าเหตุการณืนี้เป็นจุดเริ่มต้นของคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส<ref name="ประวัติความเป็นมาคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส"/> ต่อมา[[อีญาซ กอตอล็องดี]] ได้เข้าร่วมพันธกิจด้วย และได้รับอภิเษกเป็นมุขนายกประมุขมิสซัง[[หนานจิง]] มุขนายกทั้งสามได้รับสิทธิว่าภายในกำหนดระยะเวลา 7 ปีนั้นสามารถบวชกุลบุตรพื้นเมืองที่รู้[[ภาษาละติน]]เป็น[[บาทหลวง]]ได้ ทั้งสามยังได้ตั้ง[[เซมินารี]]ขึ้นที่กรุง[[ปารีส]]เพื่ออบรมกุลบุตรชาวฝรั่งเศสไปร่วมพันธกิจ
บาทหลวง[[อาแล็กซ็องดร์ เดอ รอด]] [[มิชชันนารี]][[คณะเยสุอิต]]ซึ่งทำ[[การประกาศข่าวดี]]ในภูมิภาค[[ตะวันออกไกล]]ในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 17]] เห็นว่าควรโปรด[[ศีลอนุกรม]]ให้แก่คนพื้นเมือง [[คริสตจักรท้องถิ่น]]จะได้เติบโตก้าวหน้าต่อไป จึงเดินทางไปกรุงโรม เพื่อขอให้[[สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 10]] ทรงแต่งตั้ง[[มุขนายก]][[ผู้แทนพระสันตะปาปา]]ไปปกครอง[[สำนักมิสซัง]]ในภูมิภาคนั้น พระสันตะปาปาจึงให้บาทหลวงเดอ รอด เป็นผู้สรรหาบุคคลมาทำหน้าที่ บาทหลวงเดอ รอด ชักชวน[[ฟร็องซัว ปาลูว์]] และ[[ปีแยร์ ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต]] ทั้งสองได้รับ[[การอภิเษก]]เป็น[[มุขนายก]]ในปี ค.ศ. 1658 โดยมุขนายกปาลูว์เป็นประมุขมิสซัง[[ตังเกี๋ย]] และมุขนายกเดอ ลา ม็อต ปกครองมิสซัง[[โคชินไชนา]] จึงถือว่าเหตุการณืนี้เป็นจุดเริ่มต้นของคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส<ref name="ประวัติความเป็นมาคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส"/> ต่อมา[[อีญาซ กอตอล็องดี]] ได้เข้าร่วมพันธกิจด้วย และได้รับอภิเษกเป็นมุขนายกประมุขมิสซัง[[หนานจิง]] มุขนายกทั้งสามได้รับสิทธิว่าภายในกำหนดระยะเวลา 7 ปีนั้นสามารถบวชกุลบุตรพื้นเมืองที่รู้[[ภาษาละติน]]เป็น[[บาทหลวง]]ได้ ทั้งสามยังได้ตั้ง[[เซมินารี]]ขึ้นที่กรุง[[ปารีส]]เพื่ออบรมกุลบุตรชาวฝรั่งเศสไปร่วมพันธกิจ


มุขนายกทั้งสามพร้อมกับมิชชันนารีในคณะของตนทยอยอกเดินทางจากฝรั่งเศส คณะของมุขนายกเดอ ลา ม็อต ออกเดินทางในปี ค.ศ. 1660 มาถึงกรุงศรีอยุธยาเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1662 ส่วนคณะของมุขนายกปาลูว์มาถึงเมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 1664 ตรงกับรัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] ส่วนมุขนายกกอตอล็องดีถึงแก่กรรมที่ประเทศอินเดียเสียก่อน ขณะนั้นเกิด[[การเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชน]]อย่างหนักในตังเกี๋ยและจีน ประกอบกับพระเจ้ากรุงสยามได้ต้อนรับคณะมิชชันนารีเป็นอย่างดี มุขนายกทั้งสองที่เหลือจึงตัดสินใจปักหลักประกาศศาสนาในดินแดนสยาม จนกระทั่งวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1669 [[สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 9]] จึงโปรดให้ตั้ง[[เขตมิสซังกรุงเทพฯ|มิสซังสยาม]]เป็น[[เขตผู้แทนพระสันตะปาปา]] บาทหลวง[[หลุยส์ ลาโน]] มิชชันนารีในคณะของมุขนายกปาลูว์ได้รับอภิเษกเป็นผู้แทนพระสันตะปาปาประมุขมิสซังองค์แรก
มุขนายกทั้งสามพร้อมกับมิชชันนารีในคณะของตนทยอยอกเดินทางจากฝรั่งเศส คณะของมุขนายกเดอ ลา ม็อต ออกเดินทางในปี ค.ศ. 1660 มาถึงกรุงศรีอยุธยาเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1662 ส่วนคณะของมุขนายกปาลูว์มาถึงเมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 1664 ตรงกับรัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] ส่วนมุขนายกกอตอล็องดีถึงแก่กรรมที่ประเทศอินเดียเสียก่อน ขณะนั้นเกิด[[การเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชน]]อย่างหนักในตังเกี๋ยและจีน ประกอบกับพระเจ้ากรุงสยามได้ต้อนรับคณะมิชชันนารีเป็นอย่างดี มุขนายกทั้งสองที่เหลือจึงตัดสินใจปักหลักประกาศศาสนาในดินแดนสยาม จนกระทั่งวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1669 [[สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 9]] จึงโปรดให้ตั้ง[[เขตมิสซังกรุงเทพฯ|มิสซังสยาม]]เป็น[[เขตผู้แทนพระสันตะปาปา]] บาทหลวง[[หลุยส์ ลาโน]] มิชชันนารีในคณะของมุขนายกปาลูว์ได้รับอภิเษกเป็นผู้แทนพระสันตะปาปาประมุขมิสซังองค์แรก


มิชชันนารีคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสยังคงปฏิบัติพันธกิจอยู่จวบจนปัจจุบัน ตามสถิติปี ค.ศ. 2010 คณะมีสมาชิกเป็นบาทหลวง 247 องค์<ref>{{cite web|title=La Société des Missions Etrangères|url=http://www.catholic-hierarchy.org/diocese/dqmep.html|publisher=The Hierarchy of the Catholic Church|date= 3 เมษายน 2013|accessdate=11 เมษายน 2556}}</ref>
มิชชันนารีคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสยังคงปฏิบัติพันธกิจอยู่จวบจนปัจจุบัน ตามสถิติปี ค.ศ. 2010 คณะมีสมาชิกเป็นบาทหลวง 247 องค์<ref>{{cite web|title=La Société des Missions Etrangères|url=http://www.catholic-hierarchy.org/diocese/dqmep.html|publisher=The Hierarchy of the Catholic Church|date= 3 April 2013|accessdate=11 April 2013}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:29, 3 มีนาคม 2557

คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส
ชื่อย่อM.E.P.
ก่อตั้งค.ศ. 1658
ประเภทคณะชีวิตแพร่ธรรม
สํานักงานใหญ่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
บาทหลวง Georges Colomb
เว็บไซต์http://www.mepasie.org/

คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส[1] (ฝรั่งเศส: Missions Étrangères de Paris; M.E.P) เป็นคณะชีวิตแพร่ธรรมของคริสตจักรโรมันคาทอลิก (ไม่ใช่คณะนักบวชคาทอลิก) สมาชิกประกอบด้วยบาทหลวงประจำมุขมณฑลและฆราวาสที่อุทิศตนทำงานเป็นมิชชันนารีในต่างประเทศ[2]

คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสก่อตั้งราว ค.ศ. 1658-63 ในปี ค.ศ. 1659 สมณะกระทรวงเผยแพร่ความเชื่อได้มีคำสั่งตั้งคณะอย่างเป็นทางการ และให้อภิสิทธิ์ว่าถ้าคณะนี้ไปเผยแผ่ศาสนาในดินแดนอาณานิคมของประเทศสเปนและโปรตุเกสก็ไม่ต้องขึ้นกับประเทศเจ้าอาณานิคม (แต่ขึ้นกับสันตะสำนักอย่างเดียว) นับตั้งแต่ก่อตั้งมาภายในเวลา 350 ปี คณะก็ได้ส่งบาทหลวงมิชชันนารีไปเผยแผ่ศาสนาคริสต์ในทวีปเอเชียและอเมริการวมแล้วไม่ต่ำกว่า 4,200 คน โดยมีพันธกิจหลักคือการปรับเปลี่ยนจารีตประเพณีของชนท้องถิ่น บวชคนพื้นเมืองเป็นนักบวช และปฏิบัติตามนโยบายของสันตะสำนักอย่างเคร่งครัด[3]

ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อมิชชันนารีคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสถูกรัฐบาลท้องถิ่นในเอเชียเบียดเบียน ฝรั่งเศสก็จะใช้เป็นข้ออ้างในการเข้าแทรกแซงและทำสงครามกับรัฐนั้น[4] ที่เวียดนามมีพลเรือเอกฌ็อง-บาติสต์ เซซีย์ และพลเรือเอกรีโกลต์ เดอ เฌอนูยลีใช้เหตุผลเดียวกันนี้นำกองทัพเข้าทำสงครามกับเวียดนาม ที่ประเทศจีนกองทัพฝรั่งเศสใช้กรณีฆาตกรรมบาทหลวงโอกุสต์ ชัปเดแลน เป็นข้ออ้างในการทำสงครามฝิ่นครั้งที่ 2 ในปี ค.ศ. 1856

ในปัจจุบันยังคงมีมิชชันนารีคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสปฏิบัติศาสนกิจอยู่ในทวีปเอเชีย

ประวัติ

บาทหลวงอาแล็กซ็องดร์ เดอ รอด มิชชันนารีคณะเยสุอิตซึ่งทำการประกาศข่าวดีในภูมิภาคตะวันออกไกลในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 เห็นว่าควรโปรดศีลอนุกรมให้แก่คนพื้นเมือง คริสตจักรท้องถิ่นจะได้เติบโตก้าวหน้าต่อไป จึงเดินทางไปกรุงโรม เพื่อขอให้สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 10 ทรงแต่งตั้งมุขนายกผู้แทนพระสันตะปาปาไปปกครองสำนักมิสซังในภูมิภาคนั้น พระสันตะปาปาจึงให้บาทหลวงเดอ รอด เป็นผู้สรรหาบุคคลมาทำหน้าที่ บาทหลวงเดอ รอด ชักชวนฟร็องซัว ปาลูว์ และปีแยร์ ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต ทั้งสองได้รับการอภิเษกเป็นมุขนายกในปี ค.ศ. 1658 โดยมุขนายกปาลูว์เป็นประมุขมิสซังตังเกี๋ย และมุขนายกเดอ ลา ม็อต ปกครองมิสซังโคชินไชนา จึงถือว่าเหตุการณืนี้เป็นจุดเริ่มต้นของคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส[1] ต่อมาอีญาซ กอตอล็องดี ได้เข้าร่วมพันธกิจด้วย และได้รับอภิเษกเป็นมุขนายกประมุขมิสซังหนานจิง มุขนายกทั้งสามได้รับสิทธิว่าภายในกำหนดระยะเวลา 7 ปีนั้นสามารถบวชกุลบุตรพื้นเมืองที่รู้ภาษาละตินเป็นบาทหลวงได้ ทั้งสามยังได้ตั้งเซมินารีขึ้นที่กรุงปารีสเพื่ออบรมกุลบุตรชาวฝรั่งเศสไปร่วมพันธกิจ

มุขนายกทั้งสามพร้อมกับมิชชันนารีในคณะของตนทยอยอกเดินทางจากฝรั่งเศส คณะของมุขนายกเดอ ลา ม็อต ออกเดินทางในปี ค.ศ. 1660 มาถึงกรุงศรีอยุธยาเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1662 ส่วนคณะของมุขนายกปาลูว์มาถึงเมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 1664 ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ส่วนมุขนายกกอตอล็องดีถึงแก่กรรมที่ประเทศอินเดียเสียก่อน ขณะนั้นเกิดการเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนอย่างหนักในตังเกี๋ยและจีน ประกอบกับพระเจ้ากรุงสยามได้ต้อนรับคณะมิชชันนารีเป็นอย่างดี มุขนายกทั้งสองที่เหลือจึงตัดสินใจปักหลักประกาศศาสนาในดินแดนสยาม จนกระทั่งวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1669 สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 9 จึงโปรดให้ตั้งมิสซังสยามเป็นเขตผู้แทนพระสันตะปาปา บาทหลวงหลุยส์ ลาโน มิชชันนารีในคณะของมุขนายกปาลูว์ได้รับอภิเษกเป็นผู้แทนพระสันตะปาปาประมุขมิสซังองค์แรก

มิชชันนารีคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสยังคงปฏิบัติพันธกิจอยู่จวบจนปัจจุบัน ตามสถิติปี ค.ศ. 2010 คณะมีสมาชิกเป็นบาทหลวง 247 องค์[5]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 ประวัติความเป็นมาคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส, หอจดหมายเกตุ มิสซังคาทอลิกกรุงเทพฯ, เรียกข้อมูลวันที่ 20 ก.ย. 2555
  2. Asia in the Making of Europe, p.231
  3. Missions, p.4
  4. Missions, p.5
  5. "La Société des Missions Etrangères". The Hierarchy of the Catholic Church. 3 April 2013. สืบค้นเมื่อ 11 April 2013.
  • Missions étrangères de Paris. 350 ans au service du Christ 2008 Editeurs Malesherbes Publications, Paris ISBN 978-2-916828-10-7