ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนมัธยมดงยาง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pup.rachan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pup.rachan (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 57: บรรทัด 57:
=== สีประจำโรงเรียน ===
=== สีประจำโรงเรียน ===


สีกรมท่า หมายถึง การทำงานให้เป็นคนสูงค่า มีความสุขุมเยือกเย็นและสุภาพ
สีฟ้า หมายถึง การทำงานให้เป็นคนสูงค่า มีความสุขุมเยือกเย็นและสุภาพ
สีเหลือง หมายถึง


=== คุณสมบัติอันพึงประสงค์ของนักเรียน โรงเรียนผดุงนารี ===
=== คุณสมบัติอันพึงประสงค์ของนักเรียน โรงเรียนผดุงนารี ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:12, 27 กุมภาพันธ์ 2557

โรงเรียนมัธยมดงยาง
Matthayom Dongyang School
ตราประจำโรงเรียนมัธยมดงยาง
ตราสัญลักษณ์โรงเรียนมัธยมดงยาง
ที่ตั้ง
ข้อมูล
ชื่ออื่นม.ด.ย./mdy
ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษา
สถาปนา1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
หน่วยงานกำกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รหัสxxxxxxx
ผู้อำนวยการนายวิทยา แสงคำไพร
ระดับปีที่จัดการศึกษามัธยมศึกษา
สี███ สีฟ้า
███ สีเหลือง
เพลงมาร์ชมัธยมดงยาง
เว็บไซต์facebook.com/MDYSchool

โรงเรียนมัธยมดงยาง จังหวัดมหาสารคาม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนานเล็ก โรงเรียนมัธยมดงยางตั้งอยู่ในเขตตำบลดงยาง อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม เปิดทำการเรียนการสอนมาตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2469 ซึ่งมีประวัติยาวนานกว่า 80 ปี ปัจจุบันมีจำนวนนักเรียนมากกว่า 3,000 คน และบุคลากรทางการศึกษากว่า 150 คน

ในปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนผดุงนารีมีแผนชั้นเรียนเป็น 16-12-12/12-12-10 รวม 74 ห้องเรียน เป็น 1 ใน 3 โรงเรียนที่มีการแข่งขันสูงของจังหวัดมหาสารคามและยังเป็นโรงเรียนที่มีการพัฒนาสูงมาก นอกจากนี้ในปีการศึกษา 2554 นี้ ผดุงนารีก็ยังได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนหลังใหม่สูง 4 ชั้น ซึ่งเป็นอาคาร 6 ภายใต้คำขวัญที่ว่า " ผดุงนารี 3 ปี 4 รางวัลพระราชทาน"

ประวัติ

ในปีพ.ศ. 2449 พระพิทักษ์นรากร หรือพระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม) ได้จัดตั้งโรงเรียนขึ้นเป็นครั้งแรก ในเมืองมหาสารคาม ณ วัดโพธิ์ศรีวราราม และวัดนาควิชัย โดยมีพระภิกษุเป็นครูสอน มีนักเรียนเป็นชายล้วน ส่วนนักเรียนหญิงจัดให้เรียน ตามบ้านข้าราชการผู้ใหญ่ หรือคหบดี ส่วนมากจะเรียนวิชาการเรือน ต่อมาในสมัยพระประชากรบริรักษ์ (สาย ปาลนันท์) เจ้าเมืองมหาสารคามคนที่ 7 จึงขออนุญาตมลฑลร้อยเอ็ด ในการใช้เงินเรี่ยไรบำรุงการศึกษาจำนวน 15,500 บาท เพื่อใช้ในการจัดตั้งโรงเรียนประจำขึ้น

ในปี พ.ศ. 2468 เปิดเป็นสถานศึกษา เรียกว่าโรงเรียนประจำจังหวัดมหาสารคาม "สารคามพิทยาคม" มีนักเรียนเรียนรวมกันทั้งชายและหญิง

ในปี พ.ศ. 2469 จึงจัดสร้างโรงเรียนสตรีขึ้นมาเป็น โรงเรียนชั่วคราว มีอาคารเรียนอยู่ในบริเวณเดียวกัน เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2469 ศึกษาธิการจังหวัดคือ อำมาตย์ตรีขุนประสาทวิทยากิจ

การศึกษาเล่าเรียนของเด็กชายและเด็กหญิงในเมืองมหาสารคามได้แยกกันโดยเด็ดขาด เด็กหญิงมีโรงเรียนเฉพาะผู้หญิง เรียกว่าโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดมหาสารคาม ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น "โรงเรียนผดุงนารี" มาจนกระทั่งปัจจุบัน

เวลาล่วงเลยมาจนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2482 โรงเรียนได้ขยายการศึกษา โดยเปิดสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียน ม.6 รุ่นแรก จำนวน 7 คน

ปัจจุบัน โรงเรียนผดุงนารีเปิดสอนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจำนวน 34 ห้องเรียน และมัธยมศึกษาตอนปลายจำนวน 30 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้นจำนวน 64 ห้องเรียน

ข้อมูลทั่วไปของโรงเรียน

ตราสัญลักณ์ของโรงเรียน

เป็นภาพคบเพลิง มีเปลวห้าเปลว มีรัศมีโดยรอบ

ปรัชญาโรงเรียน

ค.ม.ส. 3

  • ค หมายถึง มีความรู้
  • ม หมายถึง มีมารยาท
  • ส 3 หมายถึง สะอาด สามัคคี มีสุขภาพ

สีประจำโรงเรียน

สีฟ้า หมายถึง การทำงานให้เป็นคนสูงค่า มีความสุขุมเยือกเย็นและสุภาพ สีเหลือง หมายถึง

คุณสมบัติอันพึงประสงค์ของนักเรียน โรงเรียนผดุงนารี

  1. เป็นผู้มีความในใจใฝ่รู้ ขยันศึกษาค้นคว้า มีความรู้พื้นฐาน อย่างเพียงพอในการศึกษาเพิ่มเติม และมีเจตคติที่ดีต่อสัมมา อาชีพทุกชนิด
  2. เป็นผู้มีมารยาทดี มีสัมมาคารวะ เคารพเชื่อฟังบิดา มารดา ครูอาจารย์
  3. เป็นผู้รักความสะอาด เป็นตัวอย่างที่ดีแก่สังคม
  4. เป็นผู้ที่ยึดมั่นในสามัคคีธรรม มีศีลธรรม มีระเบียบวินัย ประหยัด เสียสละเพื่อส่วนรวม และรู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
  5. เป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ
  6. เป็นผู้ที่สามารถปรับตนให้ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

แหล่งข้อมูลอื่น