ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฟรเออร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า ไฟรอาร์ ไปยัง ไฟรเออร์: ตามสารานุกรม ราชบัณฑิต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Agustinos Recoletos.jpg|200px|thumb|ไฟรอาร์[[คณะออกัสติเนียนรีคอลเลกต์]]]]
[[ไฟล์:Agustinos Recoletos.jpg|200px|thumb|ไฟรเออร์[[คณะออกัสติเนียนรีคอลเลกต์]]]]
'''ไฟรอาร์''' ({{lang-en|'''Friar'''}}) เป็น[[นักบวชคาทอลิก]]ประเภทหนึ่ง ซึ่งสังกัด[[คณะนักบวชภิกขาจาร]] (mendicant orders) คำว่า ไฟรอาร์ มาจากภาษาอังกฤษ '''Friar''' ซึ่งมาจาก[[ภาษาฝรั่งเศส ]] '''frère''' และ[[ภาษาละติน]] '''frater''' แปลว่า '''ภราดา''' (พี่น้องชาย) เป็นคำที่คริสตชนในยุคแรกใช้เรียกกันภายในกลุ่มเพื่อแสดงความสัมพันธ์ฉันพี่น้อง นักบุญ[[ฟรานซิสแห่งอัสซีซี]]จึงนำคำนี้มาใช้เป็นชื่อคณะนักบวชที่ตนเองก่อตั้งขึ้น ว่า '''Ordo Fratrum Minorum''' (ในประเทศไทยแปลกันว่า '''คณะภราดาน้อย''') ต่อมาคำว่าไฟรอาร์จึงแพร่หลายไปใช้กับคณะนักบวชอื่นๆ (เฉพาะบางคณะ)
'''ไฟรเออร์'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่ :เอเชีย เล่ม 3 อักษร E-G ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', 2552</ref> ({{lang-en|Friar}}) เป็น[[คณะนักบวชคาทอลิก|นักบวชคาทอลิก]]ประเภทหนึ่ง ซึ่งสังกัด[[คณะนักบวชภิกขาจาร]] คำว่า ''ไฟรเออร์'' มาจากภาษาอังกฤษ '''Friar''' ซึ่งมาจาก[[ภาษาฝรั่งเศส ]] '''frère''' และ[[ภาษาละติน]] '''frater''' แปลว่า '''ภราดา''' (พี่น้องชาย) เป็นคำที่[[ศาสนาคริสต์ยุคแรก|คริสตชนยุคแรก]]ใช้เรียกกันภายในกลุ่มเพื่อแสดงความสัมพันธ์ฉันพี่น้อง นักบุญ[[ฟรังซิสแห่งอัสซีซี]]จึงนำคำนี้มาใช้เป็นชื่อคณะนักบวชที่ตนเองก่อตั้งขึ้น ว่า '''Ordo Fratrum Minorum''' (ในประเทศไทยแปลกันว่า '''คณะภราดาน้อย''') ต่อมาคำว่าไฟรเออร์จึงแพร่หลายไปใช้กับคณะนักบวชอื่น ๆ (เฉพาะบางคณะ)

==ข้อแตกต่างระหว่างไฟรอาร์กับนักพรต==
== ข้อแตกต่างระหว่างไฟรอาร์กับนักพรต ==
ทั้ง'''ไฟรอาร์'''และ[[นักพรต]] (monk) ต่างเป็น[[นักบวชคาทอลิก]] แต่มีวัตรปฏิบัติต่างกัน ไฟรอาร์เป็นนักบวชที่เน้นวัตรด้านเผยแพร่ศาสนา ในยุคแรกๆ ไฟรอาร์ไม่มีที่พักประจำ แต่จะเร่ร่อนไปเรื่อยๆ ดำรงชีวิตโดยขอปัจจัยยังชีพจากประชาชน ไฟรอาร์จึงมีความเป็นอยู่ใกล้ชิตกับสังคมมาก<ref name="CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: frair">[http://www.newadvent.org/cathen/06280b.htm Friar]. CATHOLIC ENCYCLOPEDIA เรียกข้อมูลวันที่ 4 มี.ค. พ.ศ. 2554</ref> ขณะที่นักพรตจะเน้นวัตร[[การอธิษฐาน]] (prayer) [[การเข้าฌาน]] (contemplation) มีที่อยู่เป็นหลักแหล่งเรียกว่า[[อาราม]]ซึ่งแยกต่างหากจากสังคม ยังชีพด้วยการเกษตรเลี้ยงตนเองภายในอารามนั้น<ref name="CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: monk">[http://www.newadvent.org/cathen/10487b.htm monk]. CATHOLIC ENCYCLOPEDIA เรียกข้อมูลวันที่ 4 มี.ค. พ.ศ. 2554</ref>
ทั้ง'''ไฟรเออร์'''และ[[นักพรต]] (monk) ต่างเป็น[[นักบวชคาทอลิก]] แต่มีวัตรปฏิบัติต่างกัน ไฟรเออร์เป็นนักบวชที่เน้นวัตรด้านเผยแพร่ศาสนา ในยุคแรก ๆ ไฟรเออร์ไม่มีที่พักประจำ แต่จะเร่ร่อนไปเรื่อยๆ ดำรงชีวิตโดยขอปัจจัยยังชีพจากประชาชน ไฟรเออร์จึงมีความเป็นอยู่ใกล้ชิตกับสังคมมาก<ref name="CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: frair">[http://www.newadvent.org/cathen/06280b.htm Friar]. CATHOLIC ENCYCLOPEDIA เรียกข้อมูลวันที่ 4 มี.ค. พ.ศ. 2554</ref> ขณะที่นักพรตจะเน้นวัตร[[การอธิษฐานในศาสนาคริสต์|การอธิษฐาน]] (prayer) [[การเข้าฌาน]] (contemplation) มีที่อยู่เป็นหลักแหล่งเรียกว่า[[อาราม]]ซึ่งแยกต่างหากจากสังคม ยังชีพด้วยการเกษตรเลี้ยงตนเองภายในอารามนั้น<ref name="CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: monk">[http://www.newadvent.org/cathen/10487b.htm monk]. CATHOLIC ENCYCLOPEDIA เรียกข้อมูลวันที่ 4 มี.ค. พ.ศ. 2554</ref>
==คณะนักบวชไฟรอาร์==

ตามสภา[[สังคายนาลียงครั้งที่ 2]] ระบุว่าคณะไฟรอาร์แบ่งเป็น 2 ชั้น คือ'''คณะใหญ่''' 4 คณะ <ref name="CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: frair"/> ได้แก่
== คณะนักบวชไฟรเออร์ ==
*คณะนักเทศน์ หรือที่รู้จักในนาม[[คณะดอมินิกัน]] ได้รับฉายาว่าไฟรอาร์ชุดดำ (Black Friars) เพราะสวมเสื้อคลุมยาวสีดำทับ[[แฮบิต]] คณะนี้ก่อตั้งโดย[[นักบุญดอมินิก]]ในปี ค.ศ. 1215
ตามสภา[[สังคายนาลียงครั้งที่สอง]] ระบุว่าคณะไฟรเออร์แบ่งเป็น 2 ชั้น คือ'''คณะใหญ่''' 4 คณะ <ref name="CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: frair"/> ได้แก่
*คณะภราดาน้อย หรือที่รู้จักกันในนาม[[ลัทธิฟรานซิสกัน|คณะฟรันซิสกัน]] มีฉายาว่าไฟรอาร์ชุดเทา (Grey Friar) ก่อตั้งโดยนักบุญฟรานซิสแห่งอัสซีซี
*'''คณะนักเทศน์''' หรือที่รู้จักในนาม[[คณะดอมินิกัน]] ได้รับฉายาว่าไฟรเออร์ชุดดำ (Black Friars) เพราะสวมเสื้อคลุมยาวสีดำทับ[[แฮบิต]] คณะนี้ก่อตั้งโดย[[นักบุญดอมินิก]]ในปี ค.ศ. 1215
*[[คณะคาร์เมไลท์]] ได้รับฉายาว่าไฟรอาร์ชุดขาว (White Friars)
*'''คณะภราดาน้อย''' หรือที่รู้จักกันในนาม[[คณะฟรันซิสกัน]] มีฉายาว่าไฟรเออร์ชุดเทา (Grey Friar) ก่อตั้งโดยนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี
*[[คณะออกัสติเนียน]] เดิมเป็นกลุ่มฤๅษีที่ยึดถือวินัยของนักบุญ[[ออกัสตินแห่งฮิปโป]] ต่อมาจึงรวมกันเป็นคณะเดียว
*'''[[คณะคาร์เมไลท์]]''' ได้รับฉายาว่าไฟรเออร์ชุดขาว (White Friars)
*'''[[คณะออกัสติเนียน]]''' เดิมเป็นกลุ่มฤๅษีที่ยึดถือวินัยของนักบุญ[[ออกัสตินแห่งฮิปโป]] ต่อมาจึงรวมกันเป็นคณะเดียว


'''คณะเล็ก'''มี 10 คณะ <ref name="CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: frair"/> ได้แก่
'''คณะเล็ก'''มี 10 คณะ <ref name="CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: frair"/> ได้แก่
*[[คณะทรินิแทเรียน]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1198
*[[คณะทรินิแทเรียน]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1198
*[[คณะเมอร์ซีดาเรียน]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1218
*[[คณะเมอร์ซีดาเรียน]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1218
*[[คณะเซอร์ไวต์]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1240
*[[คณะผู้รับใช้]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1240
*[[คณะมิมิม]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1474
*[[คณะมินิม]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1474
*[[คณะฟรังซิสกันคอนเวนชวล]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1521
*[[คณะภราดาน้อยคอนเวนชวล]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1521
*[[คณะกาปูชิน]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1525
*[[คณะภราดาน้อยกาปูชิน]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1525
*[[คณะคาร์เมไลท์ไม่สวมรองเท้า]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1568
*[[คณะคาร์เมไลท์ไม่สวมรองเท้า]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1568
*[[คณะออกัสติเนียนรีคอลเลกต์]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1598
*[[คณะออกัสติเนียนรีคอลเลกต์]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1598
*[[คณะทรินิแทเรียนไม่สวมรองเท้า]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1599
*[[คณะทรินิแทเรียนไม่สวมรองเท้า]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1599
*[[คณะการชดใช้บาป]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1781
*[[คณะการชดใช้บาป]] ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1781

== ดูเพิ่ม ==
* [[คณะนักบวชคาทอลิก]]
* [[นักพรต]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:นักบวชในศาสนาคริสต์]]
[[หมวดหมู่:ไฟรเออร์| ]]
[[หมวดหมู่:บุคคลในศาสนา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:19, 26 กุมภาพันธ์ 2557

ไฟรเออร์คณะออกัสติเนียนรีคอลเลกต์

ไฟรเออร์[1] (อังกฤษ: Friar) เป็นนักบวชคาทอลิกประเภทหนึ่ง ซึ่งสังกัดคณะนักบวชภิกขาจาร คำว่า ไฟรเออร์ มาจากภาษาอังกฤษ Friar ซึ่งมาจากภาษาฝรั่งเศส frère และภาษาละติน frater แปลว่า ภราดา (พี่น้องชาย) เป็นคำที่คริสตชนยุคแรกใช้เรียกกันภายในกลุ่มเพื่อแสดงความสัมพันธ์ฉันพี่น้อง นักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีจึงนำคำนี้มาใช้เป็นชื่อคณะนักบวชที่ตนเองก่อตั้งขึ้น ว่า Ordo Fratrum Minorum (ในประเทศไทยแปลกันว่า คณะภราดาน้อย) ต่อมาคำว่าไฟรเออร์จึงแพร่หลายไปใช้กับคณะนักบวชอื่น ๆ (เฉพาะบางคณะ)

ข้อแตกต่างระหว่างไฟรอาร์กับนักพรต

ทั้งไฟรเออร์และนักพรต (monk) ต่างเป็นนักบวชคาทอลิก แต่มีวัตรปฏิบัติต่างกัน ไฟรเออร์เป็นนักบวชที่เน้นวัตรด้านเผยแพร่ศาสนา ในยุคแรก ๆ ไฟรเออร์ไม่มีที่พักประจำ แต่จะเร่ร่อนไปเรื่อยๆ ดำรงชีวิตโดยขอปัจจัยยังชีพจากประชาชน ไฟรเออร์จึงมีความเป็นอยู่ใกล้ชิตกับสังคมมาก[2] ขณะที่นักพรตจะเน้นวัตรการอธิษฐาน (prayer) การเข้าฌาน (contemplation) มีที่อยู่เป็นหลักแหล่งเรียกว่าอารามซึ่งแยกต่างหากจากสังคม ยังชีพด้วยการเกษตรเลี้ยงตนเองภายในอารามนั้น[3]

คณะนักบวชไฟรเออร์

ตามสภาสังคายนาลียงครั้งที่สอง ระบุว่าคณะไฟรเออร์แบ่งเป็น 2 ชั้น คือคณะใหญ่ 4 คณะ [2] ได้แก่

คณะเล็กมี 10 คณะ [2] ได้แก่

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่ :เอเชีย เล่ม 3 อักษร E-G ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2552
  2. 2.0 2.1 2.2 Friar. CATHOLIC ENCYCLOPEDIA เรียกข้อมูลวันที่ 4 มี.ค. พ.ศ. 2554
  3. monk. CATHOLIC ENCYCLOPEDIA เรียกข้อมูลวันที่ 4 มี.ค. พ.ศ. 2554