ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศักย์ไฟฟ้า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
Roonie.02 ย้ายหน้า ความต่างศักย์ ไปยัง ความต่างศักย์ไฟฟ้า: ให้ชัดเจนยิ่งขึ้นว่าเกี่ยวกับไฟฟ...
(ไม่แตกต่าง)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:30, 23 มกราคม 2557

ความต่างศักย์ไฟฟ้า (อังกฤษ: Potential difference) ในทฤษฏีแม่เหล็กไฟฟ้าแบบ คลาสสิก ศักย์ทางไฟฟ้า (ปริมาณสเกลาร์แสดงโดย Φ, ΦE หรือ V และ ยังถูกเรียกว่า ศักย์สนามไฟฟ้าหรือศักย์ไฟฟ้าสถิต) ที่จุดหนึ่งของที่ว่างคือปริมาณของพลังงานไฟฟ้าที่มีศักยภาพที่ที่ซึ่งมีประจุไฟฟ้ามารวมกันที่จุดนั้น

ศักย์ไฟฟ้าที่จุดหนึ่งๆมีค่าเท่ากับพลังงานศักย์ไฟฟ้า(วัดเป็นจูล)ของอนุภาคใดๆที่ถูกประจุที่ตำแหน่งนั้นๆ หารด้วยประจุ(วัดเป็นคูลอมบ์)ของอนุภาค เนื่องจากประจุของอนุภาคที่ถูกทดสอบได้ถูกแบ่งออกไป ศักย์ไฟฟ้าจึงเป็น "คุณลักษณะ" ที่เกี่ยวข้องเฉพาะกับสนามไฟฟ้า ของตัวเองแต่ไม่เกี่ยวข้องกับอนุภาคที่ถูกทดสอบ ศักย์ไฟฟ้าสามารถคำนวณได้ที่จุดใน สนามไฟฟ้าคงที่(เวลาไม่เปลี่ยน)หรือในสนามไฟฟ้าแบบไดนามิก(เปลี่ยนไปตามเวลา)ในเวลาที่กำหนด และมีหน่วยเป็นจูลต่อคูลอมบ์(J C–1), หรือ volts (V)

นอกจากนี้ยังมีศักย์ไฟฟ้าสเกลล่าร์ทั่วไปที่ใช้ในระบบ electrodynamics เมื่อสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลาปรากฎอยู่ อย่างไรก็ตาม ศักย์ไฟฟ้าทั่วไปไม่สามารถตีความ ง่ายๆว่าเป็นอัตราส่วนของพลังงานที่มีศักยภาพในการประจุ

อ้างอิง