ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ษุลฮิจญ์ญะฮ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Maansajjaja (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ซุลฮิจญะหฺ''' คือเดือนที่ 12 ใน[[ปฏิทินฮิจญ์เราะหฺ]]เป็นเดือนที่ชาว[[มุสลิม]]เดินทางไป[[มักกะหฺ]]เพื่อประกอบพิธีฺฺ[[ฮัจญ์]] ในเดือนนี้มีวันสำคัญคือ [[วันอีดุลอัฏฮา]] นอกจากนี้สิบวันแรกของเดือนซุลฮิจญะฮฺยังเป็นช่วงเวลาที่มีความประเสริฐอย่างยิ่งสำหรับชาวมุสลิม ซึ่งอัลลอฮฺได้ตรัสไว้ในอัลกุรอานมีความหมายว่า “และจงประกาศแก่มนุษย์ทั่วไปเพื่อการทำฮัจญฺ พวกเขาจะมาหาเจ้าโดยทางเท้าและโดยทางอูฐเพรียวทุกตัว จะมาจากทางไกลทุกทิศทาง * เพื่อพวกเขาจะได้มาร่วมเป็นพยานในผลประโยชน์ของพวกเขา(ด้านโลกและด้านศาสนา) และกล่าวพระนามอัลลอฮใ'''ในวันที่รู้กันอยู่แล้ว'''(คือวันเชือด) ตามที่พระองค์ทรงประทานปัจจัยยังชีพแก่พวกเขาจากสัตว์สี่เท้า ดังนั้นพวกเจ้าจงกินเนื้อของมัน และจงให้อาหารแก่ผู้ยากจนขัดสน” (ซูเราะฮฺอัลฮัจญฺ อายะฮฺ 27-28)
'''ซุลฮิจญะหฺ''' คือเดือนที่ 12 ใน[[ปฏิทินฮิจญ์เราะหฺ]]เป็นเดือนที่ชาว[[มุสลิม]]เดินทางไป[[มักกะหฺ]]เพื่อประกอบพิธีฺฺ[[ฮัจญ์]] ในเดือนนี้มีวันสำคัญคือ [[วันอีดุลอัฏฮา]] นอกจากนี้สิบวันแรกของเดือนซุลฮิจญะฮฺยังเป็นช่วงเวลาที่มีความประเสริฐอย่างยิ่งสำหรับชาวมุสลิม ซึ่งอัลลอฮฺได้ตรัสไว้ในอัลกุรอานมีความหมายว่า “และจงประกาศแก่มนุษย์ทั่วไปเพื่อการทำฮัจญฺ พวกเขาจะมาหาเจ้าโดยทางเท้าและโดยทางอูฐเพรียวทุกตัว จะมาจากทางไกลทุกทิศทาง เพื่อพวกเขาจะได้มาร่วมเป็นพยานในผลประโยชน์ของพวกเขา(ด้านโลกและด้านศาสนา) และกล่าวพระนามอัลลอฮ '''ในวันที่รู้กันอยู่แล้ว'''(คือวันเชือด) ตามที่พระองค์ทรงประทานปัจจัยยังชีพแก่พวกเขาจากสัตว์สี่เท้า ดังนั้นพวกเจ้าจงกินเนื้อของมัน และจงให้อาหารแก่ผู้ยากจนขัดสน” (ซูเราะฮฺอัลฮัจญฺ อายะฮฺ 27-28)


และในการบันทึกของอิมามบุคอรียฺและอบูดาวู้ด รายงานโดยท่านอิบนุอับบาสจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า “ไม่มีวันใดๆ การกระทำอันดีงามที่อัลลอฮฺทรงโปรดจะถูกกระทำในวันนั้นดีกว่าการกระทำสิ่งดีๆในบรรดาวันนี้(คือสิบวันแรกของซุลฮิจญะฮฺ)” ศ่อฮาบะฮฺได้กล่าวว่า “แม้กระทั่ง(ดีกว่า)การทำญิฮาดในหนทางของอัลลอฮฺกระนั้นหรือ” ท่านนบีตอบว่า “แม้กระทั่งการทำญิฮาด(หมายถึงจะไม่ดีกว่าการทำความดีในสิบวันแรกของซุลฮิจญะฮฺ) เว้นแต่ชายคนหนึ่งออก(จากบ้าน)ด้วยชีวิตและทรัพย์สิน(เพื่อทำญิฮาดในหนทางของอัลลอฮฺ) และไม่มีสิ่งใดจากนั้น(ชีวิตและทรัพย์สิน)ได้กลับมาเลย”
และในการบันทึกของอิมามบุคอรียฺและอบูดาวู้ด รายงานโดยท่านอิบนุอับบาสจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า “ไม่มีวันใดๆ การกระทำอันดีงามที่อัลลอฮฺทรงโปรดจะถูกกระทำในวันนั้นดีกว่าการกระทำสิ่งดีๆในบรรดาวันนี้(คือสิบวันแรกของซุลฮิจญะฮฺ)” ศ่อฮาบะฮฺได้กล่าวว่า “แม้กระทั่ง(ดีกว่า)การทำญิฮาดในหนทางของอัลลอฮฺกระนั้นหรือ” ท่านนบีตอบว่า “แม้กระทั่งการทำญิฮาด(หมายถึงจะไม่ดีกว่าการทำความดีในสิบวันแรกของซุลฮิจญะฮฺ) เว้นแต่ชายคนหนึ่งออก(จากบ้าน)ด้วยชีวิตและทรัพย์สิน(เพื่อทำญิฮาดในหนทางของอัลลอฮฺ) และไม่มีสิ่งใดจากนั้น(ชีวิตและทรัพย์สิน)ได้กลับมาเลย”
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
'''การทำความดีในสิบวันแรกของซุลฮิจญะฮฺ'''
'''การทำความดีในสิบวันแรกของซุลฮิจญะฮฺ'''


* การสรรเสริญสดุดีต่ออัลลอฮฺ : บรรดาสะละฟุศศอลิหฺจะขยันในการรำลึกถึงอัลลอฮฺด้วยเสียงเบาและเสียงดัง
* การสรรเสริญสดุดีต่ออัลลอฮฺ : บรรดาสะละฟุศศอลิหฺจะขยันในการรำลึกถึงอัลลอฮฺด้วยเสียงเบาและเสียงดัง
* การละหมาดซุนนะฮฺให้มากๆ
* การละหมาดซุนนะฮฺให้มากๆ
* การเชือดกุรบาน(อุฎฮิยะฮฺ)
* การเชือดกุรบาน(อุฎฮิยะฮฺ)
* การบริจาคทานให้มากมาย
* การบริจาคทานให้มากมาย
* การถือศีลอด : ในการบันทึกของท่านอิมามดาวู้ดจากภรรยานบีบางท่าน กล่าวว่า ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม มักจะถือศีลอด 9 วันของซุลฮิจยะฮฺ(วันอะรอฟะฮฺ) และวันอาชูรออฺ(10 มุฮัรรอม) และสามวันจากทุกเดือน
* การถือศีลอด : ในการบันทึกของท่านอิมามดาวู้ดจากภรรยานบีบางท่าน กล่าวว่า ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม มักจะถือศีลอด 9 วันของซุลฮิจยะฮฺ(วันอะรอฟะฮฺ) และวันอาชูรออฺ(10 มุฮัรรอม) และสามวันจากทุกเดือน
* การละหมาดกลางคืน (กิยามุลลัยลฺ)
* การละหมาดกลางคืน (กิยามุลลัยลฺ)
* การกลับเนื้อกลับตัวและสำรวมตนให้อยู่ในกรอบหลักการของอัลอิสลามอย่างสม่ำเสมอ
* การกลับเนื้อกลับตัวและสำรวมตนให้อยู่ในกรอบหลักการของอัลอิสลามอย่างสม่ำเสมอ


== อ้างอิง ==
ข้อมูลจาก [http://www.islaminthailand.com/text.php?id=177]
*[http://www.islaminthailand.com/text.php?id=177 อิสลามไทย]


[[หมวดหมู่:ปฏิทินฮิจญ์เราะหฺ]]
[[หมวดหมู่:ปฏิทินฮิจญ์เราะหฺ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:48, 1 พฤษภาคม 2550

ซุลฮิจญะหฺ คือเดือนที่ 12 ในปฏิทินฮิจญ์เราะหฺเป็นเดือนที่ชาวมุสลิมเดินทางไปมักกะหฺเพื่อประกอบพิธีฺฺฮัจญ์ ในเดือนนี้มีวันสำคัญคือ วันอีดุลอัฏฮา นอกจากนี้สิบวันแรกของเดือนซุลฮิจญะฮฺยังเป็นช่วงเวลาที่มีความประเสริฐอย่างยิ่งสำหรับชาวมุสลิม ซึ่งอัลลอฮฺได้ตรัสไว้ในอัลกุรอานมีความหมายว่า “และจงประกาศแก่มนุษย์ทั่วไปเพื่อการทำฮัจญฺ พวกเขาจะมาหาเจ้าโดยทางเท้าและโดยทางอูฐเพรียวทุกตัว จะมาจากทางไกลทุกทิศทาง เพื่อพวกเขาจะได้มาร่วมเป็นพยานในผลประโยชน์ของพวกเขา(ด้านโลกและด้านศาสนา) และกล่าวพระนามอัลลอฮ ในวันที่รู้กันอยู่แล้ว(คือวันเชือด) ตามที่พระองค์ทรงประทานปัจจัยยังชีพแก่พวกเขาจากสัตว์สี่เท้า ดังนั้นพวกเจ้าจงกินเนื้อของมัน และจงให้อาหารแก่ผู้ยากจนขัดสน” (ซูเราะฮฺอัลฮัจญฺ อายะฮฺ 27-28)

และในการบันทึกของอิมามบุคอรียฺและอบูดาวู้ด รายงานโดยท่านอิบนุอับบาสจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า “ไม่มีวันใดๆ การกระทำอันดีงามที่อัลลอฮฺทรงโปรดจะถูกกระทำในวันนั้นดีกว่าการกระทำสิ่งดีๆในบรรดาวันนี้(คือสิบวันแรกของซุลฮิจญะฮฺ)” ศ่อฮาบะฮฺได้กล่าวว่า “แม้กระทั่ง(ดีกว่า)การทำญิฮาดในหนทางของอัลลอฮฺกระนั้นหรือ” ท่านนบีตอบว่า “แม้กระทั่งการทำญิฮาด(หมายถึงจะไม่ดีกว่าการทำความดีในสิบวันแรกของซุลฮิจญะฮฺ) เว้นแต่ชายคนหนึ่งออก(จากบ้าน)ด้วยชีวิตและทรัพย์สิน(เพื่อทำญิฮาดในหนทางของอัลลอฮฺ) และไม่มีสิ่งใดจากนั้น(ชีวิตและทรัพย์สิน)ได้กลับมาเลย”

ท่านหญิงอาอิชะฮฺรายงานจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า "ไม่มีวันใดที่อัลลอฮฺทรงปลดปล่อยบรรดาบ่าวของพระองค์จากนรกมากกว่าวันอะรอฟะฮ(วันที่ 9 ซุลฮิจญะฮฺ) และแท้จริงพระองค์จะทรงอยู่ใกล้ชิดและทรงภูมิใจ(ด้วยการขยันทำความดีของบ่าวของพระองค์)ต่อมลาอิกะฮฺ โดยพระองค์จะตรัส(ด้วยความภูมิใจ)ว่า คนเหล่านี้ประสงค์อะไรกัน(หมายถึงกล่าวถึงความปรารถนาอันทรงเกียรติของบ่าวของอัลลอฮฺที่แสวงบุญในวันอะรอฟะฮฺ)” บันทึกโดยอิมามมุสลิม

การทำความดีในสิบวันแรกของซุลฮิจญะฮฺ

  • การสรรเสริญสดุดีต่ออัลลอฮฺ : บรรดาสะละฟุศศอลิหฺจะขยันในการรำลึกถึงอัลลอฮฺด้วยเสียงเบาและเสียงดัง
  • การละหมาดซุนนะฮฺให้มากๆ
  • การเชือดกุรบาน(อุฎฮิยะฮฺ)
  • การบริจาคทานให้มากมาย
  • การถือศีลอด : ในการบันทึกของท่านอิมามดาวู้ดจากภรรยานบีบางท่าน กล่าวว่า ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม มักจะถือศีลอด 9 วันของซุลฮิจยะฮฺ(วันอะรอฟะฮฺ) และวันอาชูรออฺ(10 มุฮัรรอม) และสามวันจากทุกเดือน
  • การละหมาดกลางคืน (กิยามุลลัยลฺ)
  • การกลับเนื้อกลับตัวและสำรวมตนให้อยู่ในกรอบหลักการของอัลอิสลามอย่างสม่ำเสมอ

อ้างอิง