ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 23: บรรทัด 23:


=== ระดับปริญญาโท ===
=== ระดับปริญญาโท ===
* ชื่อปริญญา '''เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (M.Econ.)''' 4 รูปแบบการเรียนการสอน คือ
* ชื่อปริญญา '''เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (M.Econ.)''' มี 4 หลักสูตร ดังนี้
1. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (ภาคปกติ)
** ภาคปกติ 4 ภาคการศึกษาปกติในเวลาราชการ
2. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (1 ปี)
** ภาคพิเศษ (เสาร์-อาทิตย์) 4 ภาคการศึกษา
3. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เสาร์ – อาทิตย์)
** ภาคพิเศษ (เรียนตอนเย็น 1 ปีการศึกษา)
** หลักสูตรนานาชาติ (เดิมเป็นการเรียนการสอน Bilingual Program) 3 ภาคการศึกษาปกติ
4. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (นานาชาติ)


=== ระดับปริญญาเอก ===
=== ระดับปริญญาเอก ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:24, 9 มกราคม 2557

คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Faculty of Economics,
Chiang Mai University
ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สถาปนา28 สิงหาคม พ.ศ. 2535
คณบดีรศ.ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม[1]
ที่อยู่
สี  สีบานเย็น
มาสคอต
ฟันเฟืองรวงข้าว
เว็บไซต์www.econ.cmu.ac.th

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2507 เดิมเป็นภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นคณะเมื่อ วันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2535 จัดการเรียนการสอนในสาขาเศรษฐศาสตร์ ทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก ตราประจำคณะคือ ตราฟันเฟืองรวงข้าว สีประจำคณะ คือ สีบานเย็น[2]

หลักสูตร

ระดับปริญญาตรี

  • ชื่อปริญญา เศรษฐศาสตรบันฑิต (B.Econ) มีการเรียนการสอน 3 รูปแบบ คือ
    • ภาคปกติ เรียนในเวลาราชการ [3]
    • ภาคพิเศษ เรียนนอกเวลาราชการ (จันทร์ - ศุกร์ 16.30-19.30 น. และวันเสาร์ 09.30-12.30 น.)[4]
    • หลักสูตรนานาชาติ (เดิมคือ Bilingual Program) ซึ่งเรียนในเวลาราชการ ใช้เวลาเรียน 7 ภาคการศึกษาปกติ และเรียนหลักสูตรปริญญาโทต่อเนื่องอีก 3ภาคการศึกษาปกติ รวม 2ปริญญา ใช้เวลาในการศึกษา 5 ปี

ระดับปริญญาโท

  • ชื่อปริญญา เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (M.Econ.) มี 4 หลักสูตร ดังนี้

1. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (ภาคปกติ) 2. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (1 ปี) 3. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เสาร์ – อาทิตย์) 4. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (นานาชาติ)

ระดับปริญญาเอก

  • ชื่อปริญญา เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (PH.D. in Economics)

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น