ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาหรับ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Arab world.png|thumb|280px|กลุ่มประเทศอาหรับ]]
[[ไฟล์:Arab world.png|thumb|280px|กลุ่มประเทศอาหรับ]]
'''อาหรับ''' ({{lang-ar|<big>عربي</big>}}, ''ʿarabi'' พหูพจน์ <big>العرب</big> ''al-ʿarab'', {{lang-en|Arab}}) คือบุคคลกลุ่มบุคคลที่มีชาติพันธุ์ พูดภาษา หรือมีวัฒนธรรมที่เรียกว่า “อาหรับ”<ref>[http://lexicorient.com/cgi-bin/eo-direct.pl?hamas.htm Encyclopedia of the Orient]</ref><ref>Francis Mading Deng, ''War of Visions: Conflict of Identities in the Sudan '', Published 1995,
'''อาหรับ''' ({{lang-ar|<big>عربي</big>}}, ''ʿarabi'' พหูพจน์ <big>العرب</big> ''al-ʿarab'', {{lang-en|Arab}}) คือบุคคลกลุ่มบุคคลที่มีชาติพันธุ์ พูดภาษา หรือมีวัฒนธรรมที่เรียกว่า “อาหรับ”<ref>[http://lexicorient.com/cgi-bin/eo-direct.pl?hamas.htm Encyclopedia of the Orient]</ref><ref>Francis Mading Deng, ''War of Visions: Conflict of Identities in the Sudan '', Published 1995,
Brookings Institution Press, p. 405, via Google Books [http://books.google.com/books?id=iAPLHidx8MkC&pg=PA405&lpg=PA405&dq=definition+of+arabs&source=web&ots=H4z7bAsMBe&sig=6EMASoYXOzoWsTMBsAjDn1gucxg&hl=en]</ref>เป็นชนชาติหนึ่งที่อาศัยในบริเวณ[[คาบสมุทรอาหรับ]]ที่เป็นทะเลทราย รวมทั้งชนชาติที่พูดภาษาอาหรับในเอเชียตะวันตก และ[[แอฟริกาเหนือ]] ส่วนใหญ่นับถือ[[ศาสนาอิสลาม]] คำว่าอาหรับใน[[ตระกูลภาษาเซมิติก]]แปลว่า[[ทะเลทราย]]หรือผู้อาศัยอยู่ในทะเลทราย ส่วนใหญ่ดำรงชีพแบบเร่ร่อน จึงแปลคำว่าอาหรับว่าเร่ร่อนได้ด้วย
Brookings Institution Press, p. 405, via Google Books [http://books.google.com/books?id=iAPLHidx8MkC&pg=PA405&lpg=PA405&dq=definition+of+arabs&source=web&ots=H4z7bAsMBe&sig=6EMASoYXOzoWsTMBsAjDn1gucxg&hl=en]</ref>

ชาวอาหรับเป็นชาวเซมิติกเช่นเดียวกับ[[ชาวยิว]] จัดอยู่ในพวกคอเคเซอยด์ ในคัมภีร์[[ไบเบิล]]ภาคพันธสัญญาเก่ากล่าวว่าอับราฮัมมีลูกชาย 2 คน คนโตชื่ออิสไมส์หรืออิสมาอีลเป็นต้นตระกูลของชาวอาหรับ คนที่ 2 ชื่อไอแซกเป็นต้นตระกูลของชาวยิว ก่อนที่[[มุฮัมมัด]]จะประกาศศาสนาอิสลามชาวอาหรับจะอยู่กันเป็นเผ่า จงรักภักดีต่อเผ่าของตนมาก วิถีชีวิตของชาวอาหรับมีสองแบบ คือแบบอยู่เป็นหมู่บ้าน มีอาชีพค้าขายและทำการเกษตร อีกกลุ่มหนึ่งใช้ชีวิตแบบเร่ร่อนเรียกว่าเบดูอิน อาศัยอยู่ในกระโจมเพื่อเคลื่อนย้ายได้สะดวก ชาวเบดูอินกับชาวอาหรับที่ตั้งถิ่นฐานมักดูถูกกัน ไม่ลงรอยกัน หลังจากมุฮัมมัดประกาศศาสนาอิสลาม จึงเกิดความสามัคคีในหมูชาวอาหรับ ผู้นับถือศาสนาอิสลามในยุคแรกๆมักถูกกลั่นแกล้งและปราบปรามจึงเกิดการทำ[[ญิฮาด]]หรือการต่อสู้เพื่อศาสนาขึ้น

ปัจจุบันประเทศที่จัดว่าเป็นประเทศอาหรับเป็นสมาชิกของ[[สันนิบาตอาหรับ]] ในปัจจุบันมีสมาชิก 21 ประเทศ ได้แก่ [[แอลจีเรีย]] [[จิบูตี]] [[บาห์เรน]] [[อิรัก]] [[จอร์แดน]] [[คูเวต]] [[เลบานอน]] [[ลิเบีย]] [[มอริตาเนีย]] [[โมร็อกโก]] [[โอมาน]] [[ปาเลสไตน์]] [[กาตาร์]] [[ซาอุดิอาระเบีย]][[โซมาเลีย]] [[ซูดาน]] [[ซีเรีย]] [[ตูนีเซีย]] [[อียิปต์]] [[สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์]] และ[[เยเมน]] ในปัจจุบันยังมีความขัดแย้งในหมู่ชาวอาหรับอยู่ เช่น ปัญหาปาเลสไตน์ ความขัดแย้งทางศาสนา เช่น ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์ในเลบานอน ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามนิกาย[[สุหนี่]]และ[[ชีอะห์]] เป็นต้น


[[ภาษาอาหรับ]]เป็นภาษาที่เก่ากว่า[[วัฒนธรรมอาหรับ]]ที่เริ่มเผยแพร่ใน[[ตะวันออกกลาง]]ตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2 เมื่อ[[อาหรับคริสเตียน]]เช่น[[กาสนาวิยะห์]] [[ลักห์มิยะห์]] และ [[Banu Judham]] เริ่มโยกย้ายเข้าไปตั้งถิ่นฐานใน[[ทะเลทรายซีเรีย]]และในบริเวณ[[ลว้าน]]<ref>[http://www.witness-pioneer.org/vil/Books/SM_tsn/ch1s1.html Banu Judham migration]</ref><ref>[http://www-personal.umich.edu/~andyf/hist_arab.html#Linguistic%20Situation%20in%20Pre-Islamic%20Middle%20East Ghassanids Arabic linguistic influence in Syria]</ref> [[ภาษาอาหรับ]]เพิ่มความสำคัญมากขึ้นพร้อมกับการรุ่งเรืองของ[[ศาสนาอิสลาม]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ในการเป็นภาษาของ[[อัลกุรอาน]] และวัฒนธรรมอาหรับก็เริ่มเผยแพร่ออกไปพร้อมกับ[[การพิชิตดินแดนของมุสลิม|การขยายดินแดนของอิสลาม]]<ref>[http://islam.about.com/library/weekly/aa032300a.htm Islam and the Arabic language]</ref>
[[ภาษาอาหรับ]]เป็นภาษาที่เก่ากว่า[[วัฒนธรรมอาหรับ]]ที่เริ่มเผยแพร่ใน[[ตะวันออกกลาง]]ตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2 เมื่อ[[อาหรับคริสเตียน]]เช่น[[กาสนาวิยะห์]] [[ลักห์มิยะห์]] และ [[Banu Judham]] เริ่มโยกย้ายเข้าไปตั้งถิ่นฐานใน[[ทะเลทรายซีเรีย]]และในบริเวณ[[ลว้าน]]<ref>[http://www.witness-pioneer.org/vil/Books/SM_tsn/ch1s1.html Banu Judham migration]</ref><ref>[http://www-personal.umich.edu/~andyf/hist_arab.html#Linguistic%20Situation%20in%20Pre-Islamic%20Middle%20East Ghassanids Arabic linguistic influence in Syria]</ref> [[ภาษาอาหรับ]]เพิ่มความสำคัญมากขึ้นพร้อมกับการรุ่งเรืองของ[[ศาสนาอิสลาม]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ในการเป็นภาษาของ[[อัลกุรอาน]] และวัฒนธรรมอาหรับก็เริ่มเผยแพร่ออกไปพร้อมกับ[[การพิชิตดินแดนของมุสลิม|การขยายดินแดนของอิสลาม]]<ref>[http://islam.about.com/library/weekly/aa032300a.htm Islam and the Arabic language]</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
* ศรีสุรางค์ พูลทรัพย์. อาหรับ ใน สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่: เอเชีย เล่ม 1 อักษร A-B ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กทม.ราชบัณฑิตยสถาน. 2539. หน้า 239 - 241
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:51, 4 มกราคม 2557

กลุ่มประเทศอาหรับ

อาหรับ (อาหรับ: عربي, ʿarabi พหูพจน์ العرب al-ʿarab, อังกฤษ: Arab) คือบุคคลกลุ่มบุคคลที่มีชาติพันธุ์ พูดภาษา หรือมีวัฒนธรรมที่เรียกว่า “อาหรับ”[1][2]เป็นชนชาติหนึ่งที่อาศัยในบริเวณคาบสมุทรอาหรับที่เป็นทะเลทราย รวมทั้งชนชาติที่พูดภาษาอาหรับในเอเชียตะวันตก และแอฟริกาเหนือ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คำว่าอาหรับในตระกูลภาษาเซมิติกแปลว่าทะเลทรายหรือผู้อาศัยอยู่ในทะเลทราย ส่วนใหญ่ดำรงชีพแบบเร่ร่อน จึงแปลคำว่าอาหรับว่าเร่ร่อนได้ด้วย

ชาวอาหรับเป็นชาวเซมิติกเช่นเดียวกับชาวยิว จัดอยู่ในพวกคอเคเซอยด์ ในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเก่ากล่าวว่าอับราฮัมมีลูกชาย 2 คน คนโตชื่ออิสไมส์หรืออิสมาอีลเป็นต้นตระกูลของชาวอาหรับ คนที่ 2 ชื่อไอแซกเป็นต้นตระกูลของชาวยิว ก่อนที่มุฮัมมัดจะประกาศศาสนาอิสลามชาวอาหรับจะอยู่กันเป็นเผ่า จงรักภักดีต่อเผ่าของตนมาก วิถีชีวิตของชาวอาหรับมีสองแบบ คือแบบอยู่เป็นหมู่บ้าน มีอาชีพค้าขายและทำการเกษตร อีกกลุ่มหนึ่งใช้ชีวิตแบบเร่ร่อนเรียกว่าเบดูอิน อาศัยอยู่ในกระโจมเพื่อเคลื่อนย้ายได้สะดวก ชาวเบดูอินกับชาวอาหรับที่ตั้งถิ่นฐานมักดูถูกกัน ไม่ลงรอยกัน หลังจากมุฮัมมัดประกาศศาสนาอิสลาม จึงเกิดความสามัคคีในหมูชาวอาหรับ ผู้นับถือศาสนาอิสลามในยุคแรกๆมักถูกกลั่นแกล้งและปราบปรามจึงเกิดการทำญิฮาดหรือการต่อสู้เพื่อศาสนาขึ้น

ปัจจุบันประเทศที่จัดว่าเป็นประเทศอาหรับเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ ในปัจจุบันมีสมาชิก 21 ประเทศ ได้แก่ แอลจีเรีย จิบูตี บาห์เรน อิรัก จอร์แดน คูเวต เลบานอน ลิเบีย มอริตาเนีย โมร็อกโก โอมาน ปาเลสไตน์ กาตาร์ ซาอุดิอาระเบียโซมาเลีย ซูดาน ซีเรีย ตูนีเซีย อียิปต์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และเยเมน ในปัจจุบันยังมีความขัดแย้งในหมู่ชาวอาหรับอยู่ เช่น ปัญหาปาเลสไตน์ ความขัดแย้งทางศาสนา เช่น ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์ในเลบานอน ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่และชีอะห์ เป็นต้น

ภาษาอาหรับเป็นภาษาที่เก่ากว่าวัฒนธรรมอาหรับที่เริ่มเผยแพร่ในตะวันออกกลางตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2 เมื่ออาหรับคริสเตียนเช่นกาสนาวิยะห์ ลักห์มิยะห์ และ Banu Judham เริ่มโยกย้ายเข้าไปตั้งถิ่นฐานในทะเลทรายซีเรียและในบริเวณลว้าน[3][4] ภาษาอาหรับเพิ่มความสำคัญมากขึ้นพร้อมกับการรุ่งเรืองของศาสนาอิสลามในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ในการเป็นภาษาของอัลกุรอาน และวัฒนธรรมอาหรับก็เริ่มเผยแพร่ออกไปพร้อมกับการขยายดินแดนของอิสลาม[5]

อ้างอิง

  • ศรีสุรางค์ พูลทรัพย์. อาหรับ ใน สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่: เอเชีย เล่ม 1 อักษร A-B ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กทม.ราชบัณฑิตยสถาน. 2539. หน้า 239 - 241
  1. Encyclopedia of the Orient
  2. Francis Mading Deng, War of Visions: Conflict of Identities in the Sudan , Published 1995, Brookings Institution Press, p. 405, via Google Books [1]
  3. Banu Judham migration
  4. Ghassanids Arabic linguistic influence in Syria
  5. Islam and the Arabic language

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA