ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แกะภูเขา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Taxobox | status = VU
{{Taxobox

| name = แกะภูเขา <br /> Barbary Sheep
| name = แกะภูเขา
| status = VU
| status_system = IUCN3.1
| status_ref = <ref name="iucn">{{IUCN2008|assessors=Cassinello, J., Cuzin, F., Jdeidi, T., Masseti, M., Nader, I. & de Smet, K.|year=2008|id=1151|title=Ammotragus lervia|downloaded=11 November 2008}} Database entry includes a brief justification of why this species is of Vulnerable C1.</ref>
| image = BarbarySheep4.jpg
| image = BarbarySheep4.jpg
| image_caption =
| image_caption =
บรรทัด 10: บรรทัด 14:
| subfamilia = [[Caprinae]]
| subfamilia = [[Caprinae]]
| genus = '''''Ammotragus'''''
| genus = '''''Ammotragus'''''
|genus_authority = [[Blyth]], 1840
| species = '''''A. lervia'''''
| species = '''''A. lervia'''''
| binomial = Ammotragus lervia
| binomial = ''Ammotragus lervia''
| binomial_authority = [[Peter Simon Pallas|Pall.]], [[1777]]
| binomial_authority = [[Peter Simon Pallas|Pall.]], [[ค.ศ. 1777|1777]]
| subdivision_ranks = [[Subspecies|ชนิดย่อย]]<ref name="Grubb"/>
| subdivision = *''A. l. angusi'' <small>Rothschild, 1921</small>
*''A. l. blainei'' <small>Rothschiild, 1913</small>
*''A. l. lervia'' <small>Pallas, 1777</small>
*''A. l. fassini'' <small>Lepri, 1930</small>
*''[[Ammotragus lervia ornatus|A. l. ornatus]]'' † <small>I. Geoffroy Saint-Hilaire, 1827</small>
*''A. l. sahariensis'' <small>Rothschild, 1913</small>
| synonyms =
*''Antilope lervia''
*''Capra lervia''
|synonyms_ref = <ref>Cassinello, J.; Serrano, E.; Calabuig, G. & Pérez, J.M. (2004). Range expansion of an exotic ungulate (''Ammotragus lervia'') in southern Spain: ecological and conservation concerns. Biodiversity and Conservation 13: 851-866</ref>
}}
}}


'''แกะภูเขา''' หรือ '''แกะบาร์บารี''' ({{lang-en|Barbary sheep}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Ammotragus lervia}}) เป็น[[แกะ]]ชนิดหนึ่ง จัดอยู่เพียงชนิดเดียวในสกุล ''Ammotragus'' <ref name="Grubb">Grubb, P. (16 November 2005). Wilson, D. E.; Reeder, D. M, eds. ''Mammal Species of the World'' (3rd ed.). Johns Hopkins University Press. ISBN 978-0-8018-8221-0.</ref>
'''แกะภูเขา''' หรือ '''แกะบาร์บารี''' เป็น[[แกะ]]ที่มีลักษณะลำตัวมีขนแผงยาวนุ่มที่คอ หน้าอก และส่วนบนของขาหน้า มี[[เขา]]ขนาดใหญ่โง้งยาวไปทางด้านหลังทั้งตัวผู้และตัวเมีย ลำตัวยาว 1.3-1.9 เมตร เมื่อโตเต็มที่จะสูงถึง 90 ซม. น้ำหนัก 130-150 กก. หางยาว 25 ซม.

มีลักษณะลำตัวมีขนแผงยาวนุ่มที่คอ หน้าอก และส่วนบนของขาหน้า มี[[เขา]]ขนาดใหญ่โง้งยาวไปทางด้านหลังทั้งตัวผู้และตัวเมีย ลำตัวยาว 1.3-1.9 เมตร เมื่อโตเต็มที่จะสูงถึง 90 เซนติเมตร หางยาว 25 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 130-150 กิโลกรัม


มีถิ่นกำเนิดอยู่ในแถบภูเขาสูงชันและทะเลทราย [[ทวีปแอฟริกา]] [[ประเทศอียิปต์]] [[แอลจีเรีย]] [[ลิเบีย]] [[ซูดาน]] นิสัยชอบอยู่ตามลำพัง หรือเป็นฝูงเล็กๆ สีออกน้ำตาล เพื่อประโยชน์เมื่อเวลาที่มันหลีกหนีศัตรู จะใช้การพรางตัวให้กลมกลืนกับทรายและหิน สามารถปีนป่ายตามเขาชัน ด้วยความเร็ว 15 ไมล์ต่อ ชม. และสามารถกระโจนข้ามซอกหินได้ถึง 6 ม.<ref>[http://www.thai-tour.com/thai-tour/East/Chonburi/data/night_safari_zoo.htm ชมชีวิตสัตว์ป่ากลางคืน ที่ สวนสัตว์เปิดเขาเขียว]{{th}}</ref>
มีถิ่นกำเนิดอยู่ในแถบภูเขาสูงชันและทะเลทรายใน[[แอฟริกาเหนือ|ทวีปแอฟริกาตอนเหนือ]] เช่น [[ประเทศอียิปต์]], [[แอลจีเรีย]], [[ลิเบีย]] [[ซูดาน]] และ[[ตูนิเซีย]] มีอุปนิสัยอยู่ตามลำพัง หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ เป็นครอบครัว มีสีขนออกสีน้ำตาล เพื่อประโยชน์เมื่อเวลาที่หลีกหนีศัตรู จะใช้การพรางตัวให้กลมกลืนกับทรายและหิน สามารถปีนป่ายตามเขาชัน ด้วยความเร็ว 15 ไมล์/ชั่วโมง และสามารถกระโจนข้ามซอกหินได้ถึง 6 เมตร<ref>[http://www.thai-tour.com/thai-tour/East/Chonburi/data/night_safari_zoo.htm ชมชีวิตสัตว์ป่ากลางคืน ที่ สวนสัตว์เปิดเขาเขียว]{{th}}</ref> กินหญ้า, ต้นไม้, ใบไม้, เปลือกไม้ เป็นอาหาร ได้น้ำจากอาหารและเลียน้ำค้าง ออกลูกครั้งละ 1-2 ตัว ปีละ 1 ครั้ง แกะภูเขาถูกล่าโดยมนุษย์เพื่อเอาเนื้อ, หนัง, ขน และเอ็น เพื่อใช้ประโยชน์


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 24: บรรทัด 42:
* [http://www.thairath.co.th/news.php?section=agriculture&content=54206 แกะบาร์บารี สุดยอดนักไต่เขา 17 ก.ค. 50]
* [http://www.thairath.co.th/news.php?section=agriculture&content=54206 แกะบาร์บารี สุดยอดนักไต่เขา 17 ก.ค. 50]
{{จบอ้างอิง}}
{{จบอ้างอิง}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{commonscat|Ammotragus lervia|''Ammotragus lervia''}}
{{wikispecies-inline|Ammotragus lervia}}


{{โครงสัตว์}}


[[หมวดหมู่:แกะ]]
[[หมวดหมู่:แกะ]]
[[หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ที่พบในทวีปแอฟริกา]]
[[หมวดหมู่:สัตว์กีบคู่]]
[[หมวดหมู่:สัตว์กีบคู่]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:11, 22 ธันวาคม 2556

แกะภูเขา
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Artiodactyla
วงศ์: Bovidae
วงศ์ย่อย: Caprinae
สกุล: Ammotragus
Blyth, 1840
สปีชีส์: A.  lervia
ชื่อทวินาม
Ammotragus lervia
Pall., 1777
ชนิดย่อย[2]
  • A. l. angusi Rothschild, 1921
  • A. l. blainei Rothschiild, 1913
  • A. l. lervia Pallas, 1777
  • A. l. fassini Lepri, 1930
  • A. l. ornatusI. Geoffroy Saint-Hilaire, 1827
  • A. l. sahariensis Rothschild, 1913
ชื่อพ้อง[3]
  • Antilope lervia
  • Capra lervia

แกะภูเขา หรือ แกะบาร์บารี (อังกฤษ: Barbary sheep; ชื่อวิทยาศาสตร์: Ammotragus lervia) เป็นแกะชนิดหนึ่ง จัดอยู่เพียงชนิดเดียวในสกุล Ammotragus [2]

มีลักษณะลำตัวมีขนแผงยาวนุ่มที่คอ หน้าอก และส่วนบนของขาหน้า มีเขาขนาดใหญ่โง้งยาวไปทางด้านหลังทั้งตัวผู้และตัวเมีย ลำตัวยาว 1.3-1.9 เมตร เมื่อโตเต็มที่จะสูงถึง 90 เซนติเมตร หางยาว 25 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 130-150 กิโลกรัม

มีถิ่นกำเนิดอยู่ในแถบภูเขาสูงชันและทะเลทรายในทวีปแอฟริกาตอนเหนือ เช่น ประเทศอียิปต์, แอลจีเรีย, ลิเบีย ซูดาน และตูนิเซีย มีอุปนิสัยอยู่ตามลำพัง หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ เป็นครอบครัว มีสีขนออกสีน้ำตาล เพื่อประโยชน์เมื่อเวลาที่หลีกหนีศัตรู จะใช้การพรางตัวให้กลมกลืนกับทรายและหิน สามารถปีนป่ายตามเขาชัน ด้วยความเร็ว 15 ไมล์/ชั่วโมง และสามารถกระโจนข้ามซอกหินได้ถึง 6 เมตร[4] กินหญ้า, ต้นไม้, ใบไม้, เปลือกไม้ เป็นอาหาร ได้น้ำจากอาหารและเลียน้ำค้าง ออกลูกครั้งละ 1-2 ตัว ปีละ 1 ครั้ง แกะภูเขาถูกล่าโดยมนุษย์เพื่อเอาเนื้อ, หนัง, ขน และเอ็น เพื่อใช้ประโยชน์

อ้างอิง

  1. Cassinello, J., Cuzin, F., Jdeidi, T., Masseti, M., Nader, I. & de Smet, K. (2008). Ammotragus lervia. In: IUCN 2008. IUCN Red List of Threatened Species. Downloaded on 11 November 2008. Database entry includes a brief justification of why this species is of Vulnerable C1.
  2. 2.0 2.1 Grubb, P. (16 November 2005). Wilson, D. E.; Reeder, D. M, eds. Mammal Species of the World (3rd ed.). Johns Hopkins University Press. ISBN 978-0-8018-8221-0.
  3. Cassinello, J.; Serrano, E.; Calabuig, G. & Pérez, J.M. (2004). Range expansion of an exotic ungulate (Ammotragus lervia) in southern Spain: ecological and conservation concerns. Biodiversity and Conservation 13: 851-866
  4. ชมชีวิตสัตว์ป่ากลางคืน ที่ สวนสัตว์เปิดเขาเขียว(ไทย)

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Ammotragus lervia ที่วิกิสปีชีส์