ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระแม่มริอัมมัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
{{กล่องข้อมูล เทวดา | ไฟล์ภาพ = Mariamman.jpg | คำอธิบายภาพ = พระแม่มาริอัมมัน ภาพวาดศิลปะอินเดียใต้เลีย
ป้ายระบุ: เพิ่มลิงก์ข้ามภาษา
 
{{กล่องข้อมูล เทวดา | ไฟล์ภาพ = Mariamman.jpg | คำอธิบายภาพ = พระแม่มาริอัมมัน ภาพวาดศิลปะอินเดียใต้เลีย
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{เทวดา}}
{{เทวดา}}
{{เทพและคัมภีร์ในศาสนาฮินดู}}
[[หมวดหมู่:เทพเจ้าฮินดู]]
[[หมวดหมู่:เทพเจ้าฮินดู]]
[[en:Mariamman]]
[[en:Mariamman]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:46, 17 ธันวาคม 2556

พระแม่มาริอัมมัน
พระแม่มาริอัมมัน ภาพวาดศิลปะอินเดียใต้เลียนแบบรูปโบราณ
จำพวกเทวนารี
อาวุธตรีศูล
บัณเฑาะว์
มีดสั้น
บ่วงบาศ
ถ้วยผงสินธู
สัตว์พาหนะสิงโต

พระแม่มาริอัมมัน(ทมิฬ: மாரியம்மாอังกฤษ: mariammanจีน: 馬里安曼)เป็นเทวนารี ในศาสนาฮินดู และปรากฎเฉพาะในอินเดียภาคใต้เป็นส่วนใหญ่ และทรงเป็นรู้จักและนับถือภาคใต้ของอินเดียและในพื้นที่ชนบทของรัฐทมิฬนาดู, รัฐกรณาฏกะ , รัฐมหาราษฏระและ รัฐอานธรประเทศ ชาวฮินดูและคัมภีร์ในศาสนาฮินดูนั้นถือพระนางทรงเป็นภาคหนึ่งของ พระแม่ปารวตีและพระแม่ทุรคา และทรงมีลักษณะคล้ายคลึงเช่นเดียวกับเทวนารีของอินเดียภาคเหนือ คือ พระแม่ศีลตาเทวีและพระแม่กาลี ในอินเดียใต้นั้น มีพิธีเฉลิมฉลองถวายแด่พระนางซึ่งเกิดขึ้นในช่วง ปลายฤดูร้อนทั่วภูมิภาคของอินเดียใต้ ซึ่งเป็นงานเทศกาลที่ยิ่งใหญ่ เรียกว่า " อดิตรีรูวิยา(Aadi Thiruvizha )" เป็นเทศกาลที่สำหรับ สักการะบูชาประจำปีของพระนางเป็นส่วนใหญ่ มุ่งเน้นไปที่ การขอพรและการรักษาโรค เช่นโรค อหิวาตกโรค ฝีดาษ และ โรคต่างๆ ทรงเป็นที่เคารพบูชา ตามท้องถิ่นของอินเดียใต้เป็นส่วนใหญ่ โดยถือเป็นเทวีผู้ดูแลหมู่บ้านต่างๆ และมักจะมีเทวสถานเพื่อประดิษฐานเทวรูปประจำหมู่บ้าน และในเทวสถานนั้นมักขนาบข้างด้วยเทวรูปพระพิฆเนศวร และ พระขันทกุมาร ในความเชื่อของชาวฮินดูนั้น มีสัญญาลักษณ์แทนพระนางคือ สะเดา ซึ่งถือว่ามีอำนาจและพลังของพระนางสถิตอยู่พืชชนิดนี้และเครื่องเครื่องสักการะบูชาหลักของพระนาง.

ดูเพิ่ม

อ้างอิง