ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผักกาดหัว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
|}}
|}}


'''ผักกาดหัว''' <!--ชื่อสามัญ--> หรือชื่ออื่น ๆ เช่น '''หัวผักกาด''', '''หัวไช้เท้า''' หรือ '''หัวไชเท้า''') เป็น[[ผัก]]ที่หลายประเทศนำมาทำอาหาร อย่าง[[อาหารญี่ปุ่น]]ก็ นิยมนำหัวไช้เท้าดิบมาขูดฝอยลงใน[[ซีอิ๊ว]] ใช้เป็นน้ำจิ้ม เพราะชาวญี่ปุ่นเชื่อว่าช่วยกระตุ้นน้ำย่อย หรืออย่างชาวจีนก็นำมาแปรรูปเป็น[[หัวไช้โป๊ว]]ไว้ทานตลอดปี ทางด้านวงการแพทย์แผนจีนมองว่า หัวไช้เท้าอยู่ในกลุ่มหยาง (yang) คือเป็นอาหารร้อน ไม่ควรทานเวลามีไข้ ส่วนในตำรายาพื้นบ้านอินเดียแนะว่า เมื่อทานแล้วจะช่วยให้นอนหลับรวมถึงแก้โรคประสาท
'''ผักกาดหัว''' <!--ชื่อสามัญ--> หรือชื่ออื่น ๆ เช่น '''หัวผักกาด''', '''หัวไช้เท้า''' หรือ '''หัวไชเท้า''') เป็น[[ผัก]]ที่หลายประเทศนำมาทำอาหาร อย่าง[[อาหารญี่ปุ่น]]ก็นิยมนำหัวไช้เท้าดิบมาขูดฝอยลงใน[[ซีอิ๊ว]] ใช้เป็นน้ำจิ้ม เพราะชาวญี่ปุ่นเชื่อว่าช่วยกระตุ้นน้ำย่อย หรืออย่างชาวจีนก็นำมาแปรรูปเป็น[[หัวไช้โป๊]]ไว้ทานตลอดปี ทางด้านวงการแพทย์แผนจีนมองว่า หัวไช้เท้าอยู่ในกลุ่มหยาง (yang) คือเป็นอาหารร้อน ไม่ควรทานเวลามีไข้ ส่วนในตำรายาพื้นบ้านอินเดียแนะว่า เมื่อทานแล้วจะช่วยให้นอนหลับรวมถึงแก้โรคประสาท


ผักกาดหัวสีขาว (''Raphanus sativus'' subsp. ''longipinnatus'') เป็นสปีชีส์ย่อยของ [[ผักกาดหัวสีแดง]] (''Raphanus sativus'') <ref name="WebsterNinthNewCollege" />
ผักกาดหัวสีขาว (''Raphanus sativus'' subsp. ''longipinnatus'') เป็นสปีชีส์ย่อยของ [[ผักกาดหัวสีแดง]] (''Raphanus sativus'') <ref name="WebsterNinthNewCollege" />

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:04, 8 พฤศจิกายน 2556

ผักกาดหัว
ผักกาดหัว (สีขาว)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms
ไม่ได้จัดลำดับ: Eudicots
ไม่ได้จัดลำดับ: Rosids
อันดับ: Brassicales
วงศ์: Brassicaceae
สกุล: Raphanus
สปีชีส์: R.  sativus
สปีชีส์ย่อย: R.  sativus subsp. longipinnatus[1]
Trinomial name
Raphanus sativus subsp. longipinnatus
L.

ผักกาดหัว หรือชื่ออื่น ๆ เช่น หัวผักกาด, หัวไช้เท้า หรือ หัวไชเท้า) เป็นผักที่หลายประเทศนำมาทำอาหาร อย่างอาหารญี่ปุ่นก็นิยมนำหัวไช้เท้าดิบมาขูดฝอยลงในซีอิ๊ว ใช้เป็นน้ำจิ้ม เพราะชาวญี่ปุ่นเชื่อว่าช่วยกระตุ้นน้ำย่อย หรืออย่างชาวจีนก็นำมาแปรรูปเป็นหัวไช้โป๊ไว้ทานตลอดปี ทางด้านวงการแพทย์แผนจีนมองว่า หัวไช้เท้าอยู่ในกลุ่มหยาง (yang) คือเป็นอาหารร้อน ไม่ควรทานเวลามีไข้ ส่วนในตำรายาพื้นบ้านอินเดียแนะว่า เมื่อทานแล้วจะช่วยให้นอนหลับรวมถึงแก้โรคประสาท

ผักกาดหัวสีขาว (Raphanus sativus subsp. longipinnatus) เป็นสปีชีส์ย่อยของ ผักกาดหัวสีแดง (Raphanus sativus) [1]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Mish, Frederick C., Editor in Chief. “Daikon.” Webster’s Ninth New Collegiate Dictionary. 9th ed. Springfield, MA: Merriam-Webster Inc., 1985. ISBN 0-87779-508-8, ISBN 0-87779-509-6 (indexed), and ISBN 0-87779-510-X (deluxe).