ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.GentleCN (คุย | ส่วนร่วม)
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35: บรรทัด 35:
| elevation =
| elevation =
| website =
| website =
| map = [[ไฟล์:Thailand rail map.gif|280px]]<br/><small><font color=gold>เส้นสีเหลือง</font> ในแผนที่</small>
| map =
| map_state =
| map_state =
}}
}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:11, 2 พฤศจิกายน 2556

ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ
ข้อมูลทั่วไป
สถานะเปิดให้บริการ
โครงการส่วนต่อขยาย
เจ้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ปลายทาง
การดำเนินงาน
รูปแบบรถไฟระหว่างเมือง
ระบบรถไฟทางไกล
ของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ผู้ดำเนินงานการรถไฟแห่งประเทศไทย
และบริษัทเอกชนในส่วนของสถานีขนถ่ายสินค้า
ศูนย์ซ่อมบำรุงโรงรถจักรดีเซลแก่งคอย
โรงรถจักรดีเซลนครราชสีมา
โรงรถจักรดีเซลอุบลราชธานี
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง575 กม. (357.29 ไมล์) (ถึงอุบลราชธานี)
627.5 กม. (389.91 ไมล์) (ถึงหนองคาย)
รางกว้างราง 1 เมตร ทางเดี่ยว
(ระหว่างโครงการก่อสร้างทางคู่)
แผนที่เส้นทาง

เส้นสีเหลือง ในแผนที่

ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ แยกออกจากทางรถไฟสายเหนือที่สถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชี โดยในเส้นทางตอนล่าง จะผ่านจังหวัดสระบุรี จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ สุดปลายทางที่สถานีรถไฟอุบลราชธานี อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี รวมระยะทาง 575 กิโลเมตร ส่วนเส้นทางตอนบนแยกจากเส้นทางตอนล่างที่สถานีรถไฟชุมทางถนนจิระ จังหวัดนครราชสีมา ผ่านจังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุดรธานี จังหวัดหนองคาย ข้ามสะพานมิตรไทย-ลาวแห่งที่ 1 และสุดปลายทางที่สถานีรถไฟท่านาแล้ง ประเทศลาว รวมระยะทาง 628 กิโลเมตร และที่สถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย จะมีเส้นทางลัดไปเชื่อมที่สถานีรถไฟชุมทางบัวใหญ่ อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ของเส้นทางตอนบน

ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นเส้นทางที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์รถไฟไทย เนื่องจากเป็นเส้นทางที่เปิดเดินรถสายแรก[1] จากสถานีรถไฟกรุงเทพ เดินรถถึงสถานีรถไฟนครราชสีมา

ลำดับเหตุการณ์

นอกจากนี้ การรถไฟหลวงได้สร้างทางรถไฟสายสั้นๆ แยกจากสถานีรถไฟบุ่งหวาย ไปถึงริมแม่น้ำมูล แต่ปัจจุบันเลิกใช้งานแล้ว

หลังจากนั้น การรถไฟหลวงจึงกำหนดให้สร้างทางรถไฟตอนบน เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนชาวอีสานตอนบนด้วย

หลังจากนั้น จึงมีการก่อสร้างทางรถไฟจากสถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย-สถานีรถไฟชุมทางบัวใหญ่ขึ้น เปิดเดินรถครบทั้งสายเมื่อ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2510[1]

สถานีรถไฟ

ระเบียงภาพ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น