ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dodo101 (คุย | ส่วนร่วม)
วัด
Dodo101 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 63: บรรทัด 63:
# ชุมชนราษฎรอุทิศ
# ชุมชนราษฎรอุทิศ
# ชุมชนโรงพยาบาล
# ชุมชนโรงพยาบาล
===วัด===

====วัด====
# วัดบูรพาภิราม
# วัดบูรพาภิราม
# วัดบึงพระลานชัย
# วัดบึงพระลานชัย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:33, 1 พฤศจิกายน 2556

เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันThetsaban Tambon Roi Et Town Municipality
ตราอย่างเป็นทางการของเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
ตรา
คำขวัญ: 
ร้อยเอ็ดเมืองน่าอยู่ ผู้คนน่ารัก ฟูมฟักตำนานเมือง ลือเลื่องประเพณี วัฒนธรรม งามล้ำแหล่งท่องเที่ยว
ประเทศ ไทย
จังหวัด[[จังหวัด{{{province}}}|{{{province}}}]]
อำเภอ{{{district}}}
พื้นที่
 • ทั้งหมด11.63 ตร.กม. (4.49 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2555)
 • ทั้งหมด34,554 คน
 • ความหนาแน่น2,971 คน/ตร.กม. (7,690 คน/ตร.ไมล์)
รหัส อปท.{{{code}}}
โทรศัพท์043511222
โทรสาร043513394
เว็บไซต์http://www.roietmunicipal.go.th/
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมือง ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด มีพื้นที่ครอบคลุมตำบลในเมืองทั้งตำบล ภายในเขตเทศบาลเป็นที่ตั้งของหน่วยงานการบริหาร สถานศึกษา สถานพยาบาลและสาธารณสุข ตลอดจนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมของจังหวัดร้อยเอ็ด และห้างสรรพสินค้ามากมายโรงแรมชั้นนำ

ประวัติเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฏีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 มีพื้นที่เขตเทศบาล 4.5 ตารางกิโลเมตร โดยมีสำนักงานเป็นอาคารไม้ชั้นเดียวยกพื้นสูงตั้งอยู่บนศาลาจตุรมุขในเกาะกลางบึงพลาญชัย ต่อมาปี พ.ศ. 2499 ได้ก่อสร้างสำนักงานแห่งใหม่ เป็นอาคารคอนกรีตสองชั้นตามแบบแปลนการก่อสร้างสำนักงานเทศบาลทั่วประเทศ ตั้งอยู่ที่ถนนเทวาภิบาลบนเนื้อที่ 4 ไร่เศษ ต่อมาเมื่อบ้านเมืองเจริญขึ้นและชุมชนหนาแน่นมากขึ้น จึงได้ทำการขยายเขตเทศบาลออกไปเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2509 ทำให้มีพื้นที่ 11.63 ตารางกิโลเมตร(พระราชกฤษฎีกาการจัดตั้งเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ปรากฎในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 23 ตอนที่ 21 วันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2509) และเพื่อพัฒนาและรองรับการบริหารและบริการประชาชนให้มีความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เทศบาลเมืองร้อยเอ็ดได้ก่อสร้างอาคารสำนักงานเพิ่มเติมอีก 1 หลัง เป็นอาคารคอนกรีต 3 ชั้น ต่อมาเชื่อมด้านหลังของอาคารหลังเดิม ในปี พ.ศ. 2542 และในปี พ.ศ. 2553 ได้ก่อสร้างอารคารศูนย์บริการร่วมเบ็ดเสร็จ เปิดใช้บริการเกี่ยวกับการให้บริการประชาชน โดยเปิดบริการเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 [1] (ข้อมูลจากเอกสาร : แผนพัฒนาสามปี เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด พ.ศ. 2557-2559)

สภาพทั่วไป

ที่ตั้งและอาณาเขตของเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด

  • ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลเหนือเมือง
  • ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลเหนือเมือง ตำบลรอบเมือง
  • ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลรอบเมือง
  • ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลรอบเมือง ตำบลดงลาน

สภาพภูมิอากาศ

ลักษณะภูมิอากาศโดยทั่วไป มีฝนเฉลี่ยประมาณ 1,400 มิลลิเมตรต่อปี อุณหภูมิเฉลี่ย ต่ำสุดประมาณ 14.4 องศาเซลเซียส และสูงสุดประมาณ 40.5 องศาเซลเซียส

ประชากร

  • พ.ศ.2552 จำนวน 34,510 คน
  • พ.ศ.2553 จำนวน 34,636 คน
  • พ.ศ.2554 จำนวน 34,763 คน
  • พ.ศ.2555 จำนวน 34,592 คน
  • พ.ศ.2556 จำนวน 35,077 คน

สภาพสังคม

ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด

เขตที่ 1
  1. ชุมชนวัดป่าเรไร
  2. ชุมชนวัดคุ้ม
  3. ชุมชนวัดเหนือ
  4. ชุมชนท่านคร
  5. ชุมชนวัดบึง
  6. ชุมชนศิริมงคล
เขตที่ 2
  1. ชุมชนพระอารามหลวง
  2. ชุมชนรอบเมือง
  3. ชุมชนวัดเวฬุวัน
  4. ชุมชนศรีอุดม
  5. ชุมชนบ้านหนองหญ้าม้า
  6. ชุมชนทุ่งเจริญ
  7. ชุมชนพิพิธภัณฑ์
  8. ชุมชนมั่นคงพัฒนา
เขตที่ 3
  1. ชุมชน บ.ข.ส.
  2. ชุมชนตลาดหนองแคน
  3. ชุมชนจันทร์เกษม
  4. ชุมชนโรงเรียนเมือง
  5. ชุมชนราษฎรอุทิศ
  6. ชุมชนโรงพยาบาล

วัด

  1. วัดบูรพาภิราม
  2. วัดบึงพระลานชัย
  3. วัดกลางมิ่งเมือง
  4. วัดสระทอง
  5. วัดสระแก้ว
  6. วัดเหนือ
  7. วัดป่าเรไร
  8. วัดเวฬุวัน
  9. วัดราษฎร์ศิริ
  10. วัดคุ้มวนาราม
  11. วัดสว่างอารมณ์
  12. วัดราษฎรอุทิศ
  13. วัดท่านคร
  14. วัดบ้านหนองหญ้าม้า

งานประเพณีและเทศกาลท้องถิ่นที่สำคัญ

  1. เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด