ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
เรือรบหลวงเฮอร์เมสและเรือพี่น้องของมันอีกสองลำเป็นกองเรือบรรทุกอากาศยานขนาด 20,000 ตันที่ถูกเปลี่ยนให้เป็นเรือบรรทุกอากาศยานคอมมานโดที่บรรทุกเพียงแต่เฮลิคอปเตอร์เท่านั้น ต่อมาเรือเฮอร์เมสได้ถูกเปลี่ยนเป็นเรือบรรทุกอากาศยานปีกนิ่งขึ้นลงในแนวดิ่งแทน
เรือรบหลวงเฮอร์เมสและเรือพี่น้องของมันอีกสองลำเป็นกองเรือบรรทุกอากาศยานขนาด 20,000 ตันที่ถูกเปลี่ยนให้เป็นเรือบรรทุกอากาศยานคอมมานโดที่บรรทุกเพียงแต่เฮลิคอปเตอร์เท่านั้น ต่อมาเรือเฮอร์เมสได้ถูกเปลี่ยนเป็นเรือบรรทุกอากาศยานปีกนิ่งขึ้นลงในแนวดิ่งแทน


[[ไฟล์:Helicopter carrier Hyūga (16DDH).jpg|thumb|200px|เรือ ฮีวงะ (16DDH) ของกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น]]
==รายชื่อประเทศที่มีเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์==
[[ไฟล์:Helicopter carrier Hyūga (16DDH).jpg|thumb|200px|เรือ Hyūga (16DDH) ของกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น]]
[[ไฟล์:ROKS Dokdo (LPH 6111).jpg|thumb|200px|เรือ ROKS Dokdo (LPH 6111) ของกองทัพเรือเกาหลีใต้]]
[[ไฟล์:ROKS Dokdo (LPH 6111).jpg|thumb|200px|เรือ ROKS Dokdo (LPH 6111) ของกองทัพเรือเกาหลีใต้]]

==เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์==
===Helicopter carriers currently in use===
* [[Dokdo class amphibious assault ship|''Dokdo'' class amphibious assault ship]] ([[Republic of Korea Navy]])
* [[Hyūga class helicopter destroyer|''Hyūga'' class helicopter destroyer]] ([[Japan Maritime Self-Defense Force]]) (''Hyūga'' was commissioned on March 18, 2009. The second ship ''Ise'' was commissioned on 16 March 2011.)
* [[HMS Illustrious (R06)|HMS ''Illustrious'']] ([[Royal Navy]]) The sole remaining in-service [[Invincible class aircraft carrier|''Invincible''-class]] light aircraft carrier, which will operate as a helicopter carrier when HMS ''Ocean'' enters her forthcoming refit.<ref name="Ocean refit Illustrious temporary replacement">[http://www.bbc.co.uk/news/uk-england-hampshire-13814437]</ref>
* [[HMS Ocean (L12)|HMS ''Ocean'']] ([[Royal Navy]])
* [[Mistral class amphibious assault ship]] ([[French Navy]]),
* [[Tarawa class amphibious assault ship|''Tarawa'' class amphibious assault ship]] (US Navy)
* [[Wasp class amphibious assault ship|''Wasp'' class amphibious assault ship]] (US Navy)
* [[HTMS Chakri Naruebet]] ([[Royal Thai Navy]])

===Retired helicopter carriers===
* [[USS Iwo Jima (LPH-2)|USS ''Iwo Jima'']] ([[United States Navy]]) - the lead ship of the [[Iwo Jima class amphibious assault ship|''Iwo Jima'' class]]
* [[HMS Bulwark (R08)|HMS ''Bulwark'']], [[HMS Albion (R07)|HMS ''Albion'']], ([[Royal Navy]]) - helicopter carriers of the 1960s-1980s
* [[Moskva-class helicopter carrier|''Moskva'' class]] ([[Soviet Navy]])
* [[Italian cruiser Vittorio Veneto|''Vittorio Veneto'' class]] ([[Italy|Italian]] [[Marina Militare]])
* [[Jeanne d'Arc (R 97)|''Jeanne d'Arc'']] ([[French Navy]], decommissioned in 2010)
* [[USCGC Cobb (WPG-181)]] ([[US Coast Guard]], decommissioned in 1946) - World's first helicopter carrier.

===Helicopter carriers under construction===
* [[America class amphibious assault ship|''America'' class amphibious assault ship]] (US Navy)
* [[Canberra class Landing Helicopter Dock|''Canberra'' class landing helicopter dock]] ([[Royal Australian Navy]])
* [[Dokdo class amphibious assault ship|''Dokdo'' class amphibious assault ship]] ([[Republic of Korea Navy]]). The 2nd ship Marado is under construction.
* [[Mistral class amphibious assault ship]]. Two ships under construction for the [[Russian Navy]]. More ordered.
* [[Izumo-class helicopter destroyer|''Izumo''-class helicopter destroyer]] ([[Japan Maritime Self-Defense Force|JMSDF]]).

==รายชื่อประเทศที่มีเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์==
{| class="wikitable sortable"
{| class="wikitable sortable"
|-
|-

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:54, 17 ตุลาคม 2556

เรือยูเอสเอสบอกเซอร์ของกองทัพเรือสหรัฐ เป็นเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ชั้นวาสป์

เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ เป็นเรือบรรทุกอากาศยานที่มีหน้าที่หลักในการใช้เฮลิคอปเตอร์เป็นหลัก นอกจากนี้เครื่องบินบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ยังได้ถูกใช้เป็นเรือบรรทุกอากาศยานต่อต้านเรือดำน้ำและเรือโจมตีสะเทื้อนน้ำสะเทื้อนบกอีกด้วย

เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์สามารถมีความยาวของดาดฟ้าเรือเต็มที่ได้เท่ากับเรือรบหลวงโอเชี่ยนของราชนาวีอังกฤษ[1]หรือมีลานจอดขนาดใหญ่สำหรับเฮลิคอปเตอร์ ซึ่งส่วนมากจะอยู่ที่กราบเรือ เหมือนกับเรือชั้นมอสคาว่าของกองทัพเรือโซเวียตหรือเรืออาร์กัสของกองเรือหลวงสนับสนุนของราชนาวีอังกฤษ ดาดฟ้าเรือที่มีความยาวเต็มที่นั้นออกแบบมาเพื่อให้มีพื้นที่ในการลงจอดสำหรับเฮลิคอปเตอร์ ซึ่งการออกแบบดังกล่าวยังถูกนำเอาไปใช้ในโรงเก็บอากาศยานบนเรืออีกด้วย

การนิยามเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์แบบแท้จริงในศตวรรษที่ 21 นั้นนับว่าเป็นเรื่องยาก นั้นก็เพราะมีการสร้างอากาศยานปีกนิ่งที่ลงจอดในแนวดิ่งขึ้นมา เช่น แฮริเออร์จัมพ์เจ็ท ซึ่งมีการจัดชนิดที่ซับซ้อน ตัวอย่างเช่น ในกรณีของเรือโจมตีสะเทื้อนน้ำสะเทื้อนบกชั้นวาสป์ของนาวิกโยธินสหรัฐ ที่บรรทุกเครื่องบินแฮริเออร์ 6-8 ลำ พร้อมกับเฮลิคอปเตอร์อีก 30 ลำ ดังนั้นจึงมีแค่เรือบรรทุกอากาศยานขนาดเล็กที่ไม่สามารถบรรทุกเครื่องบินแฮริเออร์และเรือบรรทุกอากาศยานยุคก่อนการสร้างเครื่องบินแฮริเออร์เท่านั้นที่จัดได้ว่าเป็นเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์อย่างแท้จริง ในหลายกรณี เรือบรรทุกอากาศยานที่สามารถบรรทุกเครื่องบินปีกนิ่งขึ้นลงในแนวดิ่งได้นั้นจะถูกจัดเป็นเรือบรรทุกอากาศยานขนาดเล็ก เรือแบบอื่นๆ อย่างเรือชั้นวาสป์นั้นสามารถบรรทุกทหารราบและส่งพวกเขาขึ้นบกได้ เรือดังกล่าวจึงถูกจัดว่าเป็นเรือโจมตีสะเทื้อนน้ำสะเทื้อนบก

เรือเอชเอ็มเอสโอเชียนของกองทัพเรือสหราชอาณาจักร

เรือรบหลวงเฮอร์เมสและเรือพี่น้องของมันอีกสองลำเป็นกองเรือบรรทุกอากาศยานขนาด 20,000 ตันที่ถูกเปลี่ยนให้เป็นเรือบรรทุกอากาศยานคอมมานโดที่บรรทุกเพียงแต่เฮลิคอปเตอร์เท่านั้น ต่อมาเรือเฮอร์เมสได้ถูกเปลี่ยนเป็นเรือบรรทุกอากาศยานปีกนิ่งขึ้นลงในแนวดิ่งแทน

เรือ ฮีวงะ (16DDH) ของกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น
เรือ ROKS Dokdo (LPH 6111) ของกองทัพเรือเกาหลีใต้

เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์

Helicopter carriers currently in use

Retired helicopter carriers

Helicopter carriers under construction

รายชื่อประเทศที่มีเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์

ประเทศ นาวี ประจำการ ปลดประจำการ กำลังก่อสร้าง
ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ราชนาวีญี่ปุ่น 2 0 2
ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ นาวีเกาหลีใต้ 1 0 0
 สหรัฐ นาวีอเมริกา 9 4 0
 สหราชอาณาจักร ราชนาวีสหราชอาณาจักร 2 0 0
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส นาวีฝรั่งเศส 3 0 0
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย นาวีออสเตรเลีย 0 0 2
ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย นาวีรัสเซีย 0 0 2

ดูเพิ่ม

อ้างอิง