ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลูตาร์โคส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=280px}}
{{ใช้ปีคศ|width=280px}}
{{กล่องข้อมูล บุคคลตามอาชีพ
{{กล่องข้อมูล บุคคลตามอาชีพ
| name = พลูทาร์ค
| name = พลูทาร์ก
| main_occupation = นักประวัติศาสตร์
| main_occupation = นักประวัติศาสตร์
| image = Plutarch.gif
| image = Plutarch.gif
| imagesize =
| imagesize =
| caption = หน้าปกหนังสือของพลูทาร์ค
| caption = หน้าปกหนังสือของพลูทาร์ก
| other_name = ลูซิอัส เมสทริอัส พลูทาร์คัส
| other_name = ลูซิอัส เมสทริอัส พลูทาร์กัส
| nationality = ชาวโรมันเชื้อสายกรีก
| nationality = ชาวโรมันเชื้อสายกรีก
| occupations = นักประวัติศาสตร์, นักเขียนชีวประวัติ, นักเขียนบทความ และนักปรัชญาเพลโต
| occupations = นักประวัติศาสตร์, นักเขียนชีวประวัติ, นักเขียนบทความ และนักปรัชญาเพลโต
| subjects = [[ชีวประวัติ]] และอื่นๆ
| subjects = [[ชีวประวัติ]] และอื่น ๆ
| period = คริสต์ศตวรรษที่ 1 และ 2
| period = คริสต์ศตวรรษที่ 1 และ 2
| notable_works = “[[ชีวิตของขุนนางกรีกและโรมัน]]” และ “[[โมราเลีย]]”
| notable_works = “[[ชีวิตของขุนนางกรีกและโรมัน]]” และ “[[โมราเลีย]]”
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
| wiki_links = [[:หมวดหมู่:นักประวัติศาสตร์ชาวโรมัน|นักประวัติศาสตร์ชาวโรมัน]]
| wiki_links = [[:หมวดหมู่:นักประวัติศาสตร์ชาวโรมัน|นักประวัติศาสตร์ชาวโรมัน]]
}}
}}
'''พลูทาร์ค''' หรือ '''พลูทาคอส''' (เมื่อเกิด) หรือ '''ลูซิอัส เมสทริอัส พลูทาร์คัส'''<ref>The name Mestrius or Lucius Mestrius was taken by Plutarch, as was common Roman practice, from his patron for Roman citizenship in the empire; in this case Lucius Mestrius Florus, a Roman consul.</ref> (เมื่อเป็นพลเมืองโรมัน) ({{lang-en|'''Plutarch''' หรือ '''Lucius Mestrius Plutarchus'''}}, ภาษากรีก: '''Πλούταρχος''') (ราว [[ค.ศ. 46]] – ราว [[ค.ศ. 120]]) เป็นนักประวัติศาสตร์, นักเขียนชีวประวัติ, นักเขียนบทความ และนักปรัชญาเพลโตชาวชาวโรมันเชื้อสายกรีกผู้เป็นผู้เชี่ยวชาญในการเขียน[[ชีวประวัติ]] และสาขาวิชาต่างๆ
'''พลูทาร์ก''' หรือ '''พลูทาคอส''' (เมื่อเกิด) หรือ '''ลูซิอัส เมสทริอัส พลูทาร์กัส'''<ref>The name Mestrius or Lucius Mestrius was taken by Plutarch, as was common Roman practice, from his patron for Roman citizenship in the empire; in this case Lucius Mestrius Florus, a Roman consul.</ref> (เมื่อเป็นพลเมืองโรมัน) ({{lang-en|Plutarch หรือ Lucius Mestrius Plutarchus}}, {{langel|Πλούταρχος}}; ราว [[ค.ศ. 46]] – ราว [[ค.ศ. 120]]) เป็นนักประวัติศาสตร์, นักเขียนชีวประวัติ, นักเขียนบทความ และนักปรัชญาเพลโตชาวชาวโรมันเชื้อสายกรีกผู้เป็นผู้เชี่ยวชาญในการเขียน[[ชีวประวัติ]] และสาขาวิชาต่าง


งานเขียนที่สำคัญของพลูทาร์คก็คือ [[ชีวิตของขุนนางกรีกและโรมัน]] (Parallel Lives) และ [[โมราเลีย]] (Moralia)<ref>{{cite encyclopedia | encyclopedia = Oxford Dictionary of Philosophy | title = Plutarch }}</ref> พลูทาร์คเกิดในครอบครัวจากตระกูลสูงในเคโรเนียที่อยู่ทางตะวันออกของ[[เดลไฟ]]ราว 20 ไมล์
งานเขียนที่สำคัญของพลูทาร์กก็คือ "[[ชีวิตของขุนนางกรีกและโรมัน]]" (Parallel Lives) และ "[[โมราเลีย]]" (Moralia)<ref>{{cite encyclopedia | encyclopedia = Oxford Dictionary of Philosophy | title = Plutarch }}</ref> พลูทาร์กเกิดในครอบครัวจากตระกูลสูงในเคโรเนียที่อยู่ทางตะวันออกของ[[เดลฟี]]ราว 20 ไมล์


== ชีวิตเบื้องต้น ==
== ชีวิตเบื้องต้น ==
[[ไฟล์:Delphi temple of Apollo dsc06283.jpg|thumb|left|ซากของวัดอพอลโลและเดลไดที่พลูทาร์คเป็นนักบวชที่มีหน้าที่ตีความหมายของคำพยากรณ์[[เทพพยากรณ์]] (oracle)]]
[[ไฟล์:Delphi temple of Apollo dsc06283.jpg|thumb|left|ซากของวัดอพอลโลและเดลไดที่พลูทาร์กเป็นนักบวชที่มีหน้าที่ตีความหมายของคำพยากรณ์[[เทพพยากรณ์]] (oracle)]]
พลูทาร์คเกิดราวปี [[ค.ศ. 46]] ในเมืองเล็กๆ ชื่อเคโรเนียในบริเวณที่เรียกว่าโบเทียในกรีซ ชื่อของพ่ออาจจะเป็นนิคาร์คัสที่สันนิษฐานจากการตั้งชื่อตามธรรมเนียมกรีกที่ตั้งชื่อข้ามชั่วคน ครอบครัวมีฐานะดี ปู่ของพลูทาร์คชื่อลัมพริอาสที่บันทึกใน “[[โมราเลีย]]”<ref>Symposiacs, Book IX, questions II & III</ref> พลูทาร์คกล่าวถึงพี่น้องชายไทมอนและลัมพริอาสหลายครั้งในบทความที่เขียน และเมื่อกล่าวถึงไทมอนก็เป็นกล่าวถึงด้วยความรัก ในปี ค.ศ. 1624 [[รูอาลดัส]] (Rualdus) กล่าวในงานเขียน “ชีวิตของพลูทาร์ค” ว่ามีภรรยาชื่อทิโมเซนาจากหลักฐานงานเขียนของพลูทาร์คเอง ที่เป็นจดหมายที่เขียนถึงภรรยาขอร้องไม่ให้เศร้าโศกจนเกินควรจากการสูญเสียลูกสาวคนโตสองคนที่คนหนึ่งชื่อทิโมเซนาเช่นเดียวกับแม่ สิ่งที่น่าสนใจในจดหมายฉบับนี้คือนัยยะที่พลูทาร์คกล่าวถึงความเชื่อในเรื่อง[[การกลับชาติมาเกิด]] (reincarnation)
พลูทาร์กเกิดราวปี [[ค.ศ. 46]] ในเมืองเล็ก ๆ ชื่อเคโรเนียในบริเวณที่เรียกว่าโบเทียในกรีซ ชื่อของพ่ออาจจะเป็นนิคาร์คัสที่สันนิษฐานจากการตั้งชื่อตามธรรมเนียมกรีกที่ตั้งชื่อข้ามชั่วคน ครอบครัวมีฐานะดี ปู่ของพลูทาร์กชื่อลัมพริอาสที่บันทึกใน “[[โมราเลีย]]”<ref>Symposiacs, Book IX, questions II & III</ref> พลูทาร์กกล่าวถึงพี่น้องชายไทมอนและลัมพริอาสหลายครั้งในบทความที่เขียน และเมื่อกล่าวถึงไทมอนก็เป็นกล่าวถึงด้วยความรัก ในปี ค.ศ. 1624 [[รูอาลดัส]] (Rualdus) กล่าวในงานเขียน “ชีวิตของพลูทาร์ก” ว่ามีภรรยาชื่อทิโมเซนาจากหลักฐานงานเขียนของพลูทาร์กเอง ที่เป็นจดหมายที่เขียนถึงภรรยาขอร้องไม่ให้เศร้าโศกจนเกินควรจากการสูญเสียลูกสาวคนโตสองคนที่คนหนึ่งชื่อทิโมเซนาเช่นเดียวกับแม่ สิ่งที่น่าสนใจในจดหมายฉบับนี้คือนัยยะที่พลูทาร์กกล่าวถึงความเชื่อในเรื่อง[[การกลับชาติมาเกิด]] (reincarnation)


จำนวนบุตรชายไม่เป็นที่ทราบแต่ลูกสองคน ออโตบูลัส พลูทาร์คมักจะการกล่าวถึงบุตรสองคนนี้และเขียนอุทิศให้ในศาสตรนิพนธ์เกี่ยวกับไทเมียสแห่งเพลโต เมื่อออโตบูลัสแต่งงานพลูทาร์คก็กล่าวถึงในบทเขียน “Table Talk” บุคคลหนึ่งที่ได้รับการกล่าวถึงคือ[[โซคลารัส]]ที่กล่าวถึงที่เป็นนัยยะว่าเป็นลูกแต่ก็ไม่ได้ระบุเป็นที่แน่นอน ศาสตรนิพนธ์ที่เกี่ยวกับปัญหาเกี่ยวกับการแต่งงานก็กล่าวถึง[[ยูริดิซี]] (Eurydice) and [[โพลลิอานัส]] (Pollianus) ก็กล่าวถึงว่าเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับครอบครัวแต่ก็สรุปไม่ได้ว่าเป็นลูกสาวหรือไม่<ref name=Stewart-Long>{{cite book|title=Plutarch's Lives, Volume I (of 4)|author=Aubrey Stewart, George Long|chapter=Life of Plutarch |url=http://www.gutenberg.org/files/14033/14033.txt|publisher=The Gutenberg Project|accessdate=2007-01-03}}</ref>
จำนวนบุตรชายไม่เป็นที่ทราบแต่ลูกสองคน ออโตบูลัส พลูทาร์กมักจะการกล่าวถึงบุตรสองคนนี้และเขียนอุทิศให้ในศาสตรนิพนธ์เกี่ยวกับไทเมียสแห่งเพลโต เมื่อออโตบูลัสแต่งงานพลูทาร์กก็กล่าวถึงในบทเขียน “Table Talk” บุคคลหนึ่งที่ได้รับการกล่าวถึงคือ[[โซคลารัส]]ที่กล่าวถึงที่เป็นนัยยะว่าเป็นลูกแต่ก็ไม่ได้ระบุเป็นที่แน่นอน ศาสตรนิพนธ์ที่เกี่ยวกับปัญหาเกี่ยวกับการแต่งงานก็กล่าวถึง[[ยูริดิซี]] (Eurydice) and [[โพลลิอานัส]] (Pollianus) ก็กล่าวถึงว่าเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับครอบครัวแต่ก็สรุปไม่ได้ว่าเป็นลูกสาวหรือไม่<ref name=Stewart-Long>{{cite book|title=Plutarch's Lives, Volume I (of 4)|author=Aubrey Stewart, George Long|chapter=Life of Plutarch |url=http://www.gutenberg.org/files/14033/14033.txt|publisher=The Gutenberg Project|accessdate=2007-01-03}}</ref>


พลูทาร์คศึกษา[[คณิตศาสตร์]] และ[[ปรัชญา]]ที่[[สถาบันเพลโต]] (Platonic Academy) แห่งเอเธนส์ภายใต้[[อัมโมนิอัสแห่งเอเธนส์]] (Ammonius of Athens) ระหว่างปี ค.ศ. 66 ถึงปี ค.ศ. 67<ref>{{cite web | url = http://oll.libertyfund.org/Intros/Plutarch.php | title = Plutarch Bio (46c.-125)| publisher = The Online Library of Liberty| accessdate = 2006-12-06}}</ref> และมีเพื่อนผู้มีอิทธิพลหลายคนที่รวมทั้ง[[ควินทัส โซซิอัส เซเนซิโอ]] (Quintus Sosius Senecio) และ [[ฟันดานัส]] (Fundanus) ทั้งสองเป็น[[วุฒิสภาโรมัน|สมาชิกวุฒิสภา]]คนสำคัญที่พลูทาร์คอุทิศงานบางชิ้นให้ต่อมา{{Fact|date=February 2007}} พลูทาร์คเดินทางอย่างกว้างไกลในบริเวณ[[เมดิเตอร์เรเนียน]]ที่รวมทั้งกรีซตอนกลาง, สปาร์ตา, โครินธ์, เพทรา, ซาร์ดีส, [[อเล็กซานเดรีย]] และไปยังโรมสองครั้ง
พลูทาร์กศึกษา[[คณิตศาสตร์]] และ[[ปรัชญา]]ที่[[สถาบันเพลโต]] (Platonic Academy) แห่งเอเธนส์ภายใต้[[อัมโมนิอัสแห่งเอเธนส์]] (Ammonius of Athens) ระหว่างปี ค.ศ. 66 ถึงปี ค.ศ. 67<ref>{{cite web | url = http://oll.libertyfund.org/Intros/Plutarch.php | title = Plutarch Bio (46c.-125)| publisher = The Online Library of Liberty| accessdate = 2006-12-06}}</ref> และมีเพื่อนผู้มีอิทธิพลหลายคนที่รวมทั้ง[[ควินทัส โซซิอัส เซเนซิโอ]] (Quintus Sosius Senecio) และ [[ฟันดานัส]] (Fundanus) ทั้งสองเป็น[[วุฒิสภาโรมัน|สมาชิกวุฒิสภา]]คนสำคัญที่พลูทาร์กอุทิศงานบางชิ้นให้ต่อมา{{Fact|date=February 2007}} พลูทาร์กเดินทางอย่างกว้างไกลในบริเวณ[[เมดิเตอร์เรเนียน]]ที่รวมทั้งกรีซตอนกลาง, สปาร์ตา, โครินธ์, เพทรา, ซาร์ดีส, [[อเล็กซานเดรีย]] และไปยังโรมสองครั้ง


เมื่อได้เป็น[[พลเมืองโรมัน]]พลูทาร์คก็เปลี่ยนชื่อเป็น “ลูซิอัส เมสทริอัส พลูทาร์คัส” โดยมี[[กงสุลโรมัน|กงสุล]][[ลูซิอัส เมสทริอัส ฟลอรัส]] (Lucius Mestrius Florus) เป็นผู้รับรองที่พลูทาร์คใช้เป็นแหล่งข้อมูลในหนังสือ “ชีวิตของโอโธ”<ref>Plutarch, ''Otho'' 14.1</ref>
เมื่อได้เป็น[[พลเมืองโรมัน]]พลูทาร์กก็เปลี่ยนชื่อเป็น “ลูซิอัส เมสทริอัส พลูทาร์กัส” โดยมี[[กงสุลโรมัน|กงสุล]][[ลูซิอัส เมสทริอัส ฟลอรัส]] (Lucius Mestrius Florus) เป็นผู้รับรองที่พลูทาร์กใช้เป็นแหล่งข้อมูลในหนังสือ “ชีวิตของโอโธ”<ref>Plutarch, ''Otho'' 14.1</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:10, 12 ตุลาคม 2556

พลูทาร์ก
หน้าปกหนังสือของพลูทาร์ก
เกิดราว ค.ศ. 46
Chaeronea, Boeotia
เสียชีวิตราว ค.ศ. 120
Delphi, Phocis
สัญชาติชาวโรมันเชื้อสายกรีก
ชื่ออื่นลูซิอัส เมสทริอัส พลูทาร์กัส
อาชีพนักประวัติศาสตร์, นักเขียนชีวประวัติ, นักเขียนบทความ และนักปรัชญาเพลโต
ยุคสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 1 และ 2
ผลงานเด่นชีวิตของขุนนางกรีกและโรมัน” และ “โมราเลีย
แบบแผนการกล่าวถึงชีวประวัติ และอื่น ๆ
ตำแหน่งนักประวัติศาสตร์
คู่สมรสทิโมเซนา
บุพการี
  • นิคาร์คัส? (บิดา)
นักประวัติศาสตร์ชาวโรมัน

พลูทาร์ก หรือ พลูทาคอส (เมื่อเกิด) หรือ ลูซิอัส เมสทริอัส พลูทาร์กัส[1] (เมื่อเป็นพลเมืองโรมัน) (อังกฤษ: Plutarch หรือ Lucius Mestrius Plutarchus, แม่แบบ:Langel; ราว ค.ศ. 46 – ราว ค.ศ. 120) เป็นนักประวัติศาสตร์, นักเขียนชีวประวัติ, นักเขียนบทความ และนักปรัชญาเพลโตชาวชาวโรมันเชื้อสายกรีกผู้เป็นผู้เชี่ยวชาญในการเขียนชีวประวัติ และสาขาวิชาต่าง ๆ

งานเขียนที่สำคัญของพลูทาร์กก็คือ "ชีวิตของขุนนางกรีกและโรมัน" (Parallel Lives) และ "โมราเลีย" (Moralia)[2] พลูทาร์กเกิดในครอบครัวจากตระกูลสูงในเคโรเนียที่อยู่ทางตะวันออกของเดลฟีราว 20 ไมล์

ชีวิตเบื้องต้น

ซากของวัดอพอลโลและเดลไดที่พลูทาร์กเป็นนักบวชที่มีหน้าที่ตีความหมายของคำพยากรณ์เทพพยากรณ์ (oracle)

พลูทาร์กเกิดราวปี ค.ศ. 46 ในเมืองเล็ก ๆ ชื่อเคโรเนียในบริเวณที่เรียกว่าโบเทียในกรีซ ชื่อของพ่ออาจจะเป็นนิคาร์คัสที่สันนิษฐานจากการตั้งชื่อตามธรรมเนียมกรีกที่ตั้งชื่อข้ามชั่วคน ครอบครัวมีฐานะดี ปู่ของพลูทาร์กชื่อลัมพริอาสที่บันทึกใน “โมราเลีย[3] พลูทาร์กกล่าวถึงพี่น้องชายไทมอนและลัมพริอาสหลายครั้งในบทความที่เขียน และเมื่อกล่าวถึงไทมอนก็เป็นกล่าวถึงด้วยความรัก ในปี ค.ศ. 1624 รูอาลดัส (Rualdus) กล่าวในงานเขียน “ชีวิตของพลูทาร์ก” ว่ามีภรรยาชื่อทิโมเซนาจากหลักฐานงานเขียนของพลูทาร์กเอง ที่เป็นจดหมายที่เขียนถึงภรรยาขอร้องไม่ให้เศร้าโศกจนเกินควรจากการสูญเสียลูกสาวคนโตสองคนที่คนหนึ่งชื่อทิโมเซนาเช่นเดียวกับแม่ สิ่งที่น่าสนใจในจดหมายฉบับนี้คือนัยยะที่พลูทาร์กกล่าวถึงความเชื่อในเรื่องการกลับชาติมาเกิด (reincarnation)

จำนวนบุตรชายไม่เป็นที่ทราบแต่ลูกสองคน ออโตบูลัส พลูทาร์กมักจะการกล่าวถึงบุตรสองคนนี้และเขียนอุทิศให้ในศาสตรนิพนธ์เกี่ยวกับไทเมียสแห่งเพลโต เมื่อออโตบูลัสแต่งงานพลูทาร์กก็กล่าวถึงในบทเขียน “Table Talk” บุคคลหนึ่งที่ได้รับการกล่าวถึงคือโซคลารัสที่กล่าวถึงที่เป็นนัยยะว่าเป็นลูกแต่ก็ไม่ได้ระบุเป็นที่แน่นอน ศาสตรนิพนธ์ที่เกี่ยวกับปัญหาเกี่ยวกับการแต่งงานก็กล่าวถึงยูริดิซี (Eurydice) and โพลลิอานัส (Pollianus) ก็กล่าวถึงว่าเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับครอบครัวแต่ก็สรุปไม่ได้ว่าเป็นลูกสาวหรือไม่[4]

พลูทาร์กศึกษาคณิตศาสตร์ และปรัชญาที่สถาบันเพลโต (Platonic Academy) แห่งเอเธนส์ภายใต้อัมโมนิอัสแห่งเอเธนส์ (Ammonius of Athens) ระหว่างปี ค.ศ. 66 ถึงปี ค.ศ. 67[5] และมีเพื่อนผู้มีอิทธิพลหลายคนที่รวมทั้งควินทัส โซซิอัส เซเนซิโอ (Quintus Sosius Senecio) และ ฟันดานัส (Fundanus) ทั้งสองเป็นสมาชิกวุฒิสภาคนสำคัญที่พลูทาร์กอุทิศงานบางชิ้นให้ต่อมา[ต้องการอ้างอิง] พลูทาร์กเดินทางอย่างกว้างไกลในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนที่รวมทั้งกรีซตอนกลาง, สปาร์ตา, โครินธ์, เพทรา, ซาร์ดีส, อเล็กซานเดรีย และไปยังโรมสองครั้ง

เมื่อได้เป็นพลเมืองโรมันพลูทาร์กก็เปลี่ยนชื่อเป็น “ลูซิอัส เมสทริอัส พลูทาร์กัส” โดยมีกงสุลลูซิอัส เมสทริอัส ฟลอรัส (Lucius Mestrius Florus) เป็นผู้รับรองที่พลูทาร์กใช้เป็นแหล่งข้อมูลในหนังสือ “ชีวิตของโอโธ”[6]

อ้างอิง

  1. The name Mestrius or Lucius Mestrius was taken by Plutarch, as was common Roman practice, from his patron for Roman citizenship in the empire; in this case Lucius Mestrius Florus, a Roman consul.
  2. "Plutarch". Oxford Dictionary of Philosophy.
  3. Symposiacs, Book IX, questions II & III
  4. Aubrey Stewart, George Long. "Life of Plutarch". Plutarch's Lives, Volume I (of 4). The Gutenberg Project. สืบค้นเมื่อ 2007-01-03.
  5. "Plutarch Bio (46c.-125)". The Online Library of Liberty. สืบค้นเมื่อ 2006-12-06.
  6. Plutarch, Otho 14.1


แม่แบบ:Link GA