ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หนีตามกาลิเลโอ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 65: บรรทัด 65:
* ผู้กำกับ ต้น นิธิวัฒน์ ใช้วัยรุ่นสาวไทย 2 คนเป็นตัวละครนำในเรื่องนี้ เนื่องจากประสบความสำเร็จจากสูตรนี้มาแล้วในภาพยนตร์เรื่อง [[Seasons Change เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย]]
* ผู้กำกับ ต้น นิธิวัฒน์ ใช้วัยรุ่นสาวไทย 2 คนเป็นตัวละครนำในเรื่องนี้ เนื่องจากประสบความสำเร็จจากสูตรนี้มาแล้วในภาพยนตร์เรื่อง [[Seasons Change เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย]]
* ตัวละคร เชอรี่ ที่รับบทโดย [[ต่าย ชุติมา]] มีปัญหาต้องเรียนซ้ำ 1 ปี เพราะทำผิดกฎที่เธอคิดว่าเป็นเรื่องเล็กน้อย เหตุการณ์นี้คล้ายกับชีวิตจริงของผู้กำกับ ต้น นิธิวัฒน์ ที่เคยเกือบไม่ได้รับปริญญาเพราะมีเรื่องทะเลาะกับอาจารย์
* ตัวละคร เชอรี่ ที่รับบทโดย [[ต่าย ชุติมา]] มีปัญหาต้องเรียนซ้ำ 1 ปี เพราะทำผิดกฎที่เธอคิดว่าเป็นเรื่องเล็กน้อย เหตุการณ์นี้คล้ายกับชีวิตจริงของผู้กำกับ ต้น นิธิวัฒน์ ที่เคยเกือบไม่ได้รับปริญญาเพราะมีเรื่องทะเลาะกับอาจารย์
* ในตอนแรก ผู้กำกับไม่แน่ใจว่า ต่าย ชุติมา และ [[จรินทร์พร จุนเกียรติ|เต้ย จรินทร์พร]] ที่อายุห่างกัน จะสามารถแสดงเป็นเพื่อนวัยเดียวกันได้หรือไม่ แต่เมื่อให้ทั้งคู่ลองแสดงด้วยกัน ผู้กำกับเห็นว่าไม่มีปัญหาน่าหนักใจเลย ต่ายและเต้่ย จึงรับบท นุ่นและเชอรี่ ตามลำดับ
* ในตอนแรก ผู้กำกับไม่แน่ใจว่า ต่าย ชุติมา และ [[จรินทร์พร จุนเกียรติ|เต้ย จรินทร์พร]] ที่อายุห่างกัน จะสามารถแสดงเป็นเพื่อนวัยเดียวกันได้หรือไม่ แต่เมื่อให้ทั้งคู่ลองแสดงด้วยกัน ผู้กำกับเห็นว่าไม่มีปัญหาน่าหนักใจเลย ต่ายและเต้ย จึงรับบท นุ่นและเชอรี่ ตามลำดับ
* ในตอนแรก ต้น ผู้กำกับกำหนดตัวละคร ตั้ม มีอายุประมาณ 26-27 ปี จึงไม่แน่ใจว่า [[เรย์ แมคโดนัลด์]] ที่มีอายุมากกว่า 30 ปีจะเหมาะสมกับบทหรือไม่ แต่เมื่อให้เรย์ลองแสดงแล้ว ต้นคิดว่าเรย์ ทำให้ตัวละครตั้ม มีความน่าเชื่อถือ มีมิติ และน่าสนใจยิ่งขึ้น
* ในตอนแรก ต้น ผู้กำกับกำหนดตัวละคร ตั้ม มีอายุประมาณ 26-27 ปี จึงไม่แน่ใจว่า [[เรย์ แมคโดนัลด์]] ที่มีอายุมากกว่า 30 ปีจะเหมาะสมกับบทหรือไม่ แต่เมื่อให้เรย์ลองแสดงแล้ว ต้นคิดว่าเรย์ ทำให้ตัวละครตั้ม มีความน่าเชื่อถือ มีมิติ และน่าสนใจยิ่งขึ้น
* แผนกคัดเลือกนักแสดงหาคนที่มารับบท พี่ทอม อยู่นาน จนกระทั่ง [[จิระ มะลิกุล]] ผู้อำนวยการสร้างแนะนำให้เลือก ชำนิ ทิพย์มณี เพราะชำนิเคยเดินทางไปอยู่ต่างประเทศด้วยตัวคนเดียว แล้วยังดิ้นรนทำงานและเรียนรู้ทุกอย่างด้วยตัวเอง เช่นเดียวกับทอมในเรื่อง อนึ่งชำนิเป็นช่างภาพมืออาชีพฝีมือดี ผู้สร้างจึงให้ชำนิช่วยถ่ายภาพใบปิดของภาพยนตร์เรื่องนี้ด้วย
* แผนกคัดเลือกนักแสดงหาคนที่มารับบท พี่ทอม อยู่นาน จนกระทั่ง [[จิระ มะลิกุล]] ผู้อำนวยการสร้างแนะนำให้เลือก ชำนิ ทิพย์มณี เพราะชำนิเคยเดินทางไปอยู่ต่างประเทศด้วยตัวคนเดียว แล้วยังดิ้นรนทำงานและเรียนรู้ทุกอย่างด้วยตัวเอง เช่นเดียวกับทอมในเรื่อง อนึ่งชำนิเป็นช่างภาพมืออาชีพฝีมือดี ผู้สร้างจึงให้ชำนิช่วยถ่ายภาพใบปิดของภาพยนตร์เรื่องนี้ด้วย
* คณะทำงานเบื้องหลังคนหลัก รวมถึงนักแสดงหลัก มีทั้งสิ้น 15 คน ซึ่งมีข้ิอดีคือ เป็นกองถ่ายที่คล่องตัวสูง เหมาะกับการถ่ายทำในต่างประเทศ แต่มีข้อเสียคือ ทุกคนจะต้องทำงานแข่งกับเวลาจำกัดเพียง 2 เดือน คนหนึ่งจึงต้องทำหลายหน้าที่ รวมถึงนักแสดงอย่างต่ายและเต้ย ต้องแต่งหน้าทำผมให้กับตัวเองด้วย
* คณะทำงานเบื้องหลังคนหลัก รวมถึงนักแสดงหลัก มีทั้งสิ้น 15 คน ซึ่งมีข้อดีคือ เป็นกองถ่ายที่คล่องตัวสูง เหมาะกับการถ่ายทำในต่างประเทศ แต่มีข้อเสียคือ ทุกคนจะต้องทำงานแข่งกับเวลาจำกัดเพียง 2 เดือน คนหนึ่งจึงต้องทำหลายหน้าที่ รวมถึงนักแสดงอย่างต่ายและเต้ย ต้องแต่งหน้าทำผมให้กับตัวเองด้วย
* ต่าย ชุติมา ผู้รับบท เชอรี่ ร้องไห้ออกมาอย่างประทับใจ ขณะอ่านบทภาพยนตร์ครั้งแรก ซึ่งการอ่านบทครั้งนั้นเป็นการอ่านบทแบบ Read Through หรือการที่ทีมงานทั้งหมดมารวมตัวกันอ่านบทเพื่อทำความเข้าใจเรื่องทั้งหมดร่วมกัน และทุกคนที่อยู่ในที่นั้นก็ประทับใจจนร้องไห้ออกมากับหมดเช่นกัน
* ต่าย ชุติมา ผู้รับบท เชอรี่ ร้องไห้ออกมาอย่างประทับใจ ขณะอ่านบทภาพยนตร์ครั้งแรก ซึ่งการอ่านบทครั้งนั้นเป็นการอ่านบทแบบ Read Through หรือการที่ทีมงานทั้งหมดมารวมตัวกันอ่านบทเพื่อทำความเข้าใจเรื่องทั้งหมดร่วมกัน และทุกคนที่อยู่ในที่นั้นก็ประทับใจจนร้องไห้ออกมากับหมดเช่นกัน
* ต่าย ชุติมา ยอมรับว่าภาพยนตร์เรื่องนี้มีฉากที่แสดงยากที่สุดตั้งแต่เคยแสดงมา คือฉากร้องไห้ ที่มีทั้งพูดไปร้องไห้ไป พูดแล้วน้ำตาค่อยๆ ไหลแต่ไม่มีเสียงสะอื้น และดีใจจนน้ำตาคลอ
* ต่าย ชุติมา ยอมรับว่าภาพยนตร์เรื่องนี้มีฉากที่แสดงยากที่สุดตั้งแต่เคยแสดงมา คือฉากร้องไห้ ที่มีทั้งพูดไปร้องไห้ไป พูดแล้วน้ำตาค่อยๆ ไหลแต่ไม่มีเสียงสะอื้น และดีใจจนน้ำตาคลอ
บรรทัด 74: บรรทัด 74:
* เต้ย จรินทร์พร ผู้รับบท นุ่น เคยเปรยกับคุณแม่ของเธอว่าอยากลองไปใช้ชีวิตในต่างประเทศ เมื่อเข้าไปคุยกับผู้สร้างภาพยนตร์เรื่องนี้ เต้ยหันไปมองหน้าคุณแม่ทันทีด้วยความดีใจและแปลกใจอย่างบังเอิญ แต่ก็ต้องตัดสินใจหยุดพักการเรียน เพื่อหาประสบการณ์จากการแสดงเรื่องนี้
* เต้ย จรินทร์พร ผู้รับบท นุ่น เคยเปรยกับคุณแม่ของเธอว่าอยากลองไปใช้ชีวิตในต่างประเทศ เมื่อเข้าไปคุยกับผู้สร้างภาพยนตร์เรื่องนี้ เต้ยหันไปมองหน้าคุณแม่ทันทีด้วยความดีใจและแปลกใจอย่างบังเอิญ แต่ก็ต้องตัดสินใจหยุดพักการเรียน เพื่อหาประสบการณ์จากการแสดงเรื่องนี้
* เรย์ แมคโดนัลด์ ผู้รับบท ตั้ม ออกเดินทางไปถ่ายทำภาพยนตร์เรื่องนี้ในต่างประเทศ พอดีกับเกิดเหตุการณ์ประท้วงปิดสนามบินสุวรรณภูมิ แต่ผู้สร้างภาพยนตร์ได้หาตั๋วเครื่องบินจากสนามบินอู่ตะเภาไปถึงปารีส เรย์จึงสามารถเดินทางตามที่วางแผนได้อย่างราบรื่น
* เรย์ แมคโดนัลด์ ผู้รับบท ตั้ม ออกเดินทางไปถ่ายทำภาพยนตร์เรื่องนี้ในต่างประเทศ พอดีกับเกิดเหตุการณ์ประท้วงปิดสนามบินสุวรรณภูมิ แต่ผู้สร้างภาพยนตร์ได้หาตั๋วเครื่องบินจากสนามบินอู่ตะเภาไปถึงปารีส เรย์จึงสามารถเดินทางตามที่วางแผนได้อย่างราบรื่น
* ฉากที่ เต้ย จรินทร์พร หรือ นุ่น ชูป้ายกลางถนนชองป์ส-เอลิเซส์ ประเทศฝรั่งเศสว่า ''"ใครคิดถึงบ้านปรบมือ"'' ปรากฏว่ามีคนไทยที่เดินอยู่บนถนนสายนั้นปรบมือกันอย่างพร้ิอมเพียง<ref>[http://www.siamzone.com/movie/m/5483/trivia เกร็ดจากภาพยนตร์ หนีตามกาลิเลโอ]</ref>
* ฉากที่ เต้ย จรินทร์พร หรือ นุ่น ชูป้ายกลางถนนชองป์ส-เอลิเซส์ ประเทศฝรั่งเศสว่า ''"ใครคิดถึงบ้านปรบมือ"'' ปรากฏว่ามีคนไทยที่เดินอยู่บนถนนสายนั้นปรบมือกันอย่างพร้อมเพียง<ref>[http://www.siamzone.com/movie/m/5483/trivia เกร็ดจากภาพยนตร์ หนีตามกาลิเลโอ]</ref>
* เพลงที่ใช้เต้นรำในงานปาร์ตี้ของตั้มที่ปารีส คือเพลง ฟลอร์เฟื่องฟ้า ของ[[สุนทราภรณ์]]
* เพลงที่ใช้เต้นรำในงานปาร์ตี้ของตั้มที่ปารีส คือเพลง ฟลอร์เฟื่องฟ้า ของ[[สุนทราภรณ์]]
* ระหว่างแสดงภาพยนตร์เรื่องนี้ ต่าย ชุติมา ได้พบรักกับ ทิม [[พิธา ลิ้มเจริญรัตน์]] นักธุรกิจน้ำมันรำข้าว เป็นครั้งแรกที่ปารีส ขณะฝ่ายชายศึกษาต่อระดับปริญญาโท และภายหลังได้แต่งงานกัน
* ระหว่างแสดงภาพยนตร์เรื่องนี้ ต่าย ชุติมา ได้พบรักกับ ทิม [[พิธา ลิ้มเจริญรัตน์]] นักธุรกิจน้ำมันรำข้าว เป็นครั้งแรกที่ปารีส ขณะฝ่ายชายศึกษาต่อระดับปริญญาโท และภายหลังได้แต่งงานกัน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:14, 3 ตุลาคม 2556

หนีตามกาลิเลโอ
กำกับนิธิวัฒน์ ธราธร
บทภาพยนตร์โสภณา เชาว์วิวัฒน์กุล
นิธิวัฒน์ ธราธร
อำนวยการสร้างจิระ มะลิกุล
นักแสดงนำจรินทร์พร จุนเกียรติ
ชุติมา ทีปะนาถ
เรย์ แมคโดนัลด์
ธนากร ชินกูล
ดนตรีประกอบหัวลำโพงริดดิม
ผู้จัดจำหน่ายจีทีเอช
วันฉาย23 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
ความยาว124 นาที
ประเทศไทย
ภาษาไทย
ฝรั่งเศส
อิตาเลียน
ทำเงิน30.34 ล้านบาท
ต่อจากนี้จีทีเอช ไซด์ สตอร์รี่
ข้อมูลจาก IMDb
ข้อมูลจากสยามโซน

หนีตามกาลิเลโอ (อังกฤษ: Dear Galileo) (เดิมชื่อ กาลิเลโอ เพราะโลกมีแรงดึงดูด) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก/ดราม่า มีกำหนดเข้าฉายในโรงภาพยนตร์วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 กำกับโดย นิธิวัฒน์ ธราธร โดยภาพยนตร์เรื่องนี้ไปถ่ายทำไกลถึง 3 ประเทศ 3 เมือง คือ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ, ปารีส ประเทศฝรั่งเศส และ เวนิส ประเทศอิตาลี ภาพยนตร์ทำรายได้ 30.34 ล้านบาท[1]

นักแสดง

เนื้อเรื่องโดยย่อ

นุ่นกับเชอรี่เป็นเพื่อนรักกัน เริ่มเรื่องที่ทั้งสองไปเล่นบันจี้จั๊มพ์ด้วยกัน และเล่าเรื่องปัญหาของตัวเองให้ฟัง นุ่น (จรินทร์พร จุนเกียรติ) มีปัญหารักเพราะเพิ่งจะเลิกกับแฟนที่ชื่อว่าตั้ม (ธนากร ชินกูล) และพยายามที่จะลืมเรื่องของตั้ม ส่วนเชอรี่ (ชุติมา ทีปะนาถ) มีปัญหาเรื่องเรียนเพราะอยากจะเข้าใช้ห้องเขียนแบบแต่อาจารย์ไม่มาจึงปลอมลายเซ็น จึงถูกพักการเรียน 1 ปีเต็ม ทั้งสองจึงตกลงกันว่าจะไปเที่ยวต่างประเทศกันตามลำพังโดยไป ลอนดอน-ปารีส-เวนิส และปิดท้ายด้วยที่หอเอนปิซ่า แถวๆบ้านเกิดของกาลิเลโอ

ระหว่างที่ไปอยู่ที่อังกฤษทั้งสองได้ที่พักของญาติ และหารายได้ด้วยการไปทำงานที่ร้านอาหารไทยในอังกฤษ ซึ่งต่อมาได้ถูกให้ออกเพราะขาดงานไปเที่ยว ทั้งสองจึงออกเดินทางไปฝรั่งเศส และได้ไปพบกับตั้ม หรือ พิสิทธิ์ (เรย์ แมคโดนัลด์) ที่นั่น ตั้มทำให้ทั้งสองได้คิดว่า "คนอื่นเขามาต่างประเทศก็เพื่อมาเที่ยว แต่สองคนนี้มาอยู่แต่ในครัว" ต่อมาเชอรี่ได้แสดงฝีมือทางสถาปัตย์ของตน ในงานแสดงผลงานศิลป์ที่จัดโดยตั้มและเพื่อนของตั้ม จนได้รู้จักกับชาวอิตาลีที่สนใจงานของเชอรี่ และเสนอให้เธอไปร่วมงานด้วย ซึ่งเชอรี่ก็ตกลง

จากนั้นทั้งสองก็ได้ไปที่อิตาลี และไปเป็นทำงานที่ร้านอาหารไทยในเวนิสแต่เชอรี่โกงเงินเจ้าของร้าน ทำให้นุ่นซึ่งเป็นคนโกง(แต่เชอรี่เป็นคนคิดแผน) และโดนส่งกลับประเทศไทย เชอรี่รู้สึกผิดและถ่ายคลิปขอโทษไว้ เมื่อถึงวันเกิดของกาลิเลโอตามที่ทั้งสองได้สัญญาไว้ว่าจะมาที่หอเอนปิซ่าเพื่อจะมาพิสูจน์ว่าหอมันจะล้มหรือเปล่า แต่นุ่นไม่อยู่เชอรี่จึงส่งเมสเสจไปหา(ตอนที่ทำงานเชอรี่กลัวนุ่นโกรธจึงไม่ได้ติดต่อไป) และนุ่นก็ส่งเมสเสจกลับมาว่า "ใครคิดถึงบ้านบ้าง ยกมือขึ้น!!!" ทำให้เชอรี่ซึ้งใจและกลับไปประเทศไทยและทั้งสองก็เป็นเพื่อนรักกันเหมือนเดิม

เพลงประกอบภาพยนตร์

รางวัล

ได้รับรางวัล

เข้าชิง

  • คมชัดลึกอวอร์ด เข้าชิงรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม โดย ชุติมา ทีปะนาถ
  • ท็อปอวอร์ด 2009 เข้าชิงรางวัลดาวรุ่งหญิงยอดเยี่ยมสาขาภาพยนตร์ โดย จรินทร์พร จุนเกียรติ และดารานำชายยอดเยี่ยมสาขาภาพยนตร์ โดย เรย์ แมคโดนัลด์
  • สตาร์พิคส์อวอร์ด เข้าชิงรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม และนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม
  • เฉลิมไทยอวอร์ด เข้าชิงรางวัลนักแสดงหญิงในบทนำจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี และนักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี
  • รางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง เข้าชิงรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม
  • รางวัลสุพรรณหงส์ เข้าชิงรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม และดนตรีประกอบยอดเยี่ยม

เกร็ดจากภาพยนตร์

  • ผู้กำกับ ต้น นิธิวัฒน์ ใช้วัยรุ่นสาวไทย 2 คนเป็นตัวละครนำในเรื่องนี้ เนื่องจากประสบความสำเร็จจากสูตรนี้มาแล้วในภาพยนตร์เรื่อง Seasons Change เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย
  • ตัวละคร เชอรี่ ที่รับบทโดย ต่าย ชุติมา มีปัญหาต้องเรียนซ้ำ 1 ปี เพราะทำผิดกฎที่เธอคิดว่าเป็นเรื่องเล็กน้อย เหตุการณ์นี้คล้ายกับชีวิตจริงของผู้กำกับ ต้น นิธิวัฒน์ ที่เคยเกือบไม่ได้รับปริญญาเพราะมีเรื่องทะเลาะกับอาจารย์
  • ในตอนแรก ผู้กำกับไม่แน่ใจว่า ต่าย ชุติมา และ เต้ย จรินทร์พร ที่อายุห่างกัน จะสามารถแสดงเป็นเพื่อนวัยเดียวกันได้หรือไม่ แต่เมื่อให้ทั้งคู่ลองแสดงด้วยกัน ผู้กำกับเห็นว่าไม่มีปัญหาน่าหนักใจเลย ต่ายและเต้ย จึงรับบท นุ่นและเชอรี่ ตามลำดับ
  • ในตอนแรก ต้น ผู้กำกับกำหนดตัวละคร ตั้ม มีอายุประมาณ 26-27 ปี จึงไม่แน่ใจว่า เรย์ แมคโดนัลด์ ที่มีอายุมากกว่า 30 ปีจะเหมาะสมกับบทหรือไม่ แต่เมื่อให้เรย์ลองแสดงแล้ว ต้นคิดว่าเรย์ ทำให้ตัวละครตั้ม มีความน่าเชื่อถือ มีมิติ และน่าสนใจยิ่งขึ้น
  • แผนกคัดเลือกนักแสดงหาคนที่มารับบท พี่ทอม อยู่นาน จนกระทั่ง จิระ มะลิกุล ผู้อำนวยการสร้างแนะนำให้เลือก ชำนิ ทิพย์มณี เพราะชำนิเคยเดินทางไปอยู่ต่างประเทศด้วยตัวคนเดียว แล้วยังดิ้นรนทำงานและเรียนรู้ทุกอย่างด้วยตัวเอง เช่นเดียวกับทอมในเรื่อง อนึ่งชำนิเป็นช่างภาพมืออาชีพฝีมือดี ผู้สร้างจึงให้ชำนิช่วยถ่ายภาพใบปิดของภาพยนตร์เรื่องนี้ด้วย
  • คณะทำงานเบื้องหลังคนหลัก รวมถึงนักแสดงหลัก มีทั้งสิ้น 15 คน ซึ่งมีข้อดีคือ เป็นกองถ่ายที่คล่องตัวสูง เหมาะกับการถ่ายทำในต่างประเทศ แต่มีข้อเสียคือ ทุกคนจะต้องทำงานแข่งกับเวลาจำกัดเพียง 2 เดือน คนหนึ่งจึงต้องทำหลายหน้าที่ รวมถึงนักแสดงอย่างต่ายและเต้ย ต้องแต่งหน้าทำผมให้กับตัวเองด้วย
  • ต่าย ชุติมา ผู้รับบท เชอรี่ ร้องไห้ออกมาอย่างประทับใจ ขณะอ่านบทภาพยนตร์ครั้งแรก ซึ่งการอ่านบทครั้งนั้นเป็นการอ่านบทแบบ Read Through หรือการที่ทีมงานทั้งหมดมารวมตัวกันอ่านบทเพื่อทำความเข้าใจเรื่องทั้งหมดร่วมกัน และทุกคนที่อยู่ในที่นั้นก็ประทับใจจนร้องไห้ออกมากับหมดเช่นกัน
  • ต่าย ชุติมา ยอมรับว่าภาพยนตร์เรื่องนี้มีฉากที่แสดงยากที่สุดตั้งแต่เคยแสดงมา คือฉากร้องไห้ ที่มีทั้งพูดไปร้องไห้ไป พูดแล้วน้ำตาค่อยๆ ไหลแต่ไม่มีเสียงสะอื้น และดีใจจนน้ำตาคลอ
  • ภาพยนตร์ถ่ายทำในช่วงฤดูหนาว แต่เรื่องราวตามบทภาพยนตร์นั้นไม่ได้เกิดในฤดูหนาว นักแสดงจึงต้องทนสวมเสื้อผ้าน้อยชิ้นแล้วกลับมาใส่เสื้อให้หนาขึ้นทันที อีกทั้งยังต้องพูดบทให้ได้อย่างเป็นธรรมชาติ ทั้งที่อากาศหนาวสั่น
  • เต้ย จรินทร์พร ผู้รับบท นุ่น เคยเปรยกับคุณแม่ของเธอว่าอยากลองไปใช้ชีวิตในต่างประเทศ เมื่อเข้าไปคุยกับผู้สร้างภาพยนตร์เรื่องนี้ เต้ยหันไปมองหน้าคุณแม่ทันทีด้วยความดีใจและแปลกใจอย่างบังเอิญ แต่ก็ต้องตัดสินใจหยุดพักการเรียน เพื่อหาประสบการณ์จากการแสดงเรื่องนี้
  • เรย์ แมคโดนัลด์ ผู้รับบท ตั้ม ออกเดินทางไปถ่ายทำภาพยนตร์เรื่องนี้ในต่างประเทศ พอดีกับเกิดเหตุการณ์ประท้วงปิดสนามบินสุวรรณภูมิ แต่ผู้สร้างภาพยนตร์ได้หาตั๋วเครื่องบินจากสนามบินอู่ตะเภาไปถึงปารีส เรย์จึงสามารถเดินทางตามที่วางแผนได้อย่างราบรื่น
  • ฉากที่ เต้ย จรินทร์พร หรือ นุ่น ชูป้ายกลางถนนชองป์ส-เอลิเซส์ ประเทศฝรั่งเศสว่า "ใครคิดถึงบ้านปรบมือ" ปรากฏว่ามีคนไทยที่เดินอยู่บนถนนสายนั้นปรบมือกันอย่างพร้อมเพียง[3]
  • เพลงที่ใช้เต้นรำในงานปาร์ตี้ของตั้มที่ปารีส คือเพลง ฟลอร์เฟื่องฟ้า ของสุนทราภรณ์
  • ระหว่างแสดงภาพยนตร์เรื่องนี้ ต่าย ชุติมา ได้พบรักกับ ทิม พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ นักธุรกิจน้ำมันรำข้าว เป็นครั้งแรกที่ปารีส ขณะฝ่ายชายศึกษาต่อระดับปริญญาโท และภายหลังได้แต่งงานกัน

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น