ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐบาลกลางสหรัฐ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
====วุฒิสภา====
====วุฒิสภา====
'''วุฒิสภา ({{lang-en|Senate}})''' ประกอบไปด้วยวุฒิสมาชิกจำนวน 2 คนจากแต่ละมลรัฐ โดยไม่นับจากสัดส่วนประชากร ในปัจจุบันประกอบด้วยวุฒิสมาชิกจำนวน 100 คน (จากทั้งหมด 50 มลรัฐ) โดยมีวาระ 6 ปี โดยจะมีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาราวๆหนึ่งในสามของสมาชิกทั้งหมดทุกๆสองปี
'''วุฒิสภา ({{lang-en|Senate}})''' ประกอบไปด้วยวุฒิสมาชิกจำนวน 2 คนจากแต่ละมลรัฐ โดยไม่นับจากสัดส่วนประชากร ในปัจจุบันประกอบด้วยวุฒิสมาชิกจำนวน 100 คน (จากทั้งหมด 50 มลรัฐ) โดยมีวาระ 6 ปี โดยจะมีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาราวๆหนึ่งในสามของสมาชิกทั้งหมดทุกๆสองปี

====การแบ่งแยกอำนาจ====
ทั้งสองสภานั้นจะมีอำนาจแยกจากกัน ตัวอย่างเช่น วุฒิสภาจะต้องอนุมัติเห็นชอบ (ให้[[คำแนะนำและยินยอม]]) ต่อการแต่งตั้งข้าราชการระดับสูงโดยประธานาธิบดี เช่น คณะรัฐมนตรี ผู้พิพากษาศาลกลาง (รวมถึงตัวแทนศาลฎีกา) ผู้บัญชาการกองทัพ และเอกอัครข้าราชทูตประจำประเทศต่างๆ ส่วนการร่างกฎหมายที่เกี่ยวกับรายได้นั้นจะต้องมาจากสภาผู้แทนราษฎร โดยจะต้องได้รับการรับรองจากทั้งสองสภาในการผ่านร่างกฎหมายก่อนที่จะลงนามโดยประธานาธิบดีเพื่อเป็นกฎหมายที่บังคับใช้ได้อย่างสมบูรณ์ (หรือ ถ้าหากประธานาธิบดีใช้อำนาจไม่รับรองร่างกฎหมายใดๆ ให้กลับไปที่สภาคองเกรสเพื่อลงมติมากกว่าสองในสามของแต่ละสภา ซึ่งในกรณีนี้จะสามารถบังคับใช้เป็นกฎหมายได้อย่างสมบูรณ์โดยปราศจากการลงนามโดยประธานาธิบดี) อำนาจของสภาคองเกรสนั้นถูกจำกัดและแจกแจงไว้ตามรัฐธรรมนูญ อำนาจอื่นๆที่นอกเหนือจากนี้ให้ตกเป็นของมลรัฐและประชาชน โดยมาตราที่ 1 ของรัฐธรรมนูญได้ระบุถึงกรณีที่จำเป็นและเหมาะสม (Necessary and Proper Clause) ให้สภาคองเกรส "สามารถตรากฎหมายที่จำเป็นต่อการใช้อำนาจที่แจกแจงไว้ให้สำเร็จลงได้" สมาชิกสภาคองเกรสนั้นถูกคัดเลือกโดยการเลือกตั้ง โดยผ่านการเลือกตั้งรอบเดียวโดยผู้ที่มีคะแนนเสียงมากที่สุด ยกเว้นในรัฐหลุยเซียนา แคลิฟอร์เนีย และวอชิงตัน ที่จัดการเลือกตั้งแบบสองรอบ

====การถอดถอนข้าราชการระดับสูง====
สภาคองเกรสมีอำนาจถอดถอนประธานาธิบดี ผู้พิพากษากลาง และข้าราชการระดับสูงแห่งสหพันฐ์ได้ โดยทั้งสองสภาได้รับบทบาทที่แตกต่างกันในการยื่นถอดถอน โดยสภาผู้แทนราษฎรจะต้องออกเสียงเพื่อผ่านการถอดถอนนั้นๆก่อน จากนั้นวุฒิสภาจะเป็นผู้ดำเนินการสอบสวนข้อเท็จจริงเพื่อเป็นการตัดสินว่าบุคคลนั้นสมควรจะต้องถูกถอดถอนหรือไม่ ในประวัติศาสตร์อเมริกันนั้นเคยมีประธานาธิบดีถูกลงมติถอดจากตำแหน่งโดยสภาผู้แทนราษฎรจำนวน 2 คน คือ [[แอนดรูว์ จอห์นสัน]] และ[[บิล คลินตัน]] แต่ทั้งสองคนก็มิได้ถูกตัดสินโดยวุฒิสภาให้ถอดถอนจากตำแหน่ง


Congressional procedures[edit]
Article I, Section 2, paragraph 2 of the U.S. Constitution gives each chamber the power to "determine the rules of its proceedings." From this provision were created congressional committees, which do the work of drafting legislation and conducting congressional investigations into national matters. The 108th Congress (2003–2005) had 19 standing committees in the House and 17 in the Senate, plus four joint permanent committees with members from both houses overseeing the Library of Congress, printing, taxation and the economy. In addition, each house may name special, or select, committees to study specific problems. Today, much of the congressional workload is borne by subcommittees, of which there are some 150.



==ฝ่ายบริหาร==
==ฝ่ายบริหาร==
อำนาจบริหารในรัฐบาลแห่งสหพันธ์นั้นอยู่ที่ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา<ref name="ArtII wikisource">[[s:Constitution of the United States of America|Article II, Constitution of the United States of America]]</ref> แต่อย่างไรก็ดีอำนาจต่างๆนั้นจะถูกแบ่งเบาโดยคณะรัฐมนตรีและข้าราชการระดับสูง<ref>{{UnitedStatesCode|3|301|303}}</ref><ref>{{cite web |first=Obama |last=Barack |authorlink=Barack Obama |title=Delegation of Certain Authority Under the National Defense Authorization Act for Fiscal Year 2008 |url=http://www.whitehouse.gov/the_press_office/Presidential-Memorandum-for-the-Secretary-of-Defense/ |publisher=[[United States]] |date=2009-04-27 |archivedate= |accessdate=2009-07-01 |quote=}}</ref> ประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีนั้นมาจากการเลือกตั้งผ่านคณะผู้เลือกตั้ง (Electoral College) โดยรัฐต่างๆ รวมทั้งวอชิงตัน ดี.ซี. จะได้รับจำนวนของที่นั่งของคณะผู้เลือกตั้งเท่ากับจำนวนของสมาชิกสภาคองเกรสในเขตนั้นๆ<ref name="ArtII wikisource"/><ref>[[s:Additional amendments to the United States Constitution#Amendment XXIII|Amendment XXIII to the United States Constitution]]</ref> ประธานาธิบดีมีวาระครั้งละ 4 ปี ไม่เกินสองสมัยติดต่อกัน หากแต่ประธานาธิบดีผู้นั้นเคยได้รับตำแหน่งมาแล้วสองสมัย แล้วถูกคั่นด้วยคนอื่น เขายังสามารถเข้ารับตำแหน่งได้อีกหนึ่งสมัยมีวาระ 4 ปี<ref name="ArtII wikisource"/>





รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:17, 2 ตุลาคม 2556


รัฐบาลกลางแห่งสหรัฐอเมริกา (อังกฤษ: the Government of the United States of America) เป็นรัฐบาลกลางแห่งสหพันธรัฐซึ่งมีอำนาจตามรัฐธรรมนูญผูกพันต่อมลรัฐทั้ง 50 แห่งซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นประเทศสหรัฐอเมริกา รวมถึงเขตการปกครองพิเศษ วอชิงตัน ดีซี และอาณาเขตอื่นๆอีกหลายแห่ง รัฐบาลกลางประกอบไปด้วยอำนาจ 3 ฝ่าย ได้แก่ นิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ ซึ่งตามรัฐธรรมนูญได้ให้อำนาจในแต่ละฝ่ายได้แก่ สภาคองเกรส ประธานาธิบดี และศาลสูงสุดรวมถึงศาลฎีกาตามลำดับ อำนาจและหน้าที่ของแต่ละฝ่ายนั้นได้ระบุไว้ในกฎหมายคองเกรส

ชื่อเต็มอย่างเป็นทางการของประเทศคือ "สหรัฐอเมริกา" (อังกฤษ: The United States of America) ซึ่งจะใช้ระบุในรัฐธรรมนูญ เอกสารราชการ ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ และสนธิสัญญาต่างๆ คำว่า "รัฐบาลแห่งสหรัฐอเมริกา" (อังกฤษ: Government of the United States of America) หรือ "รัฐบาลสหรัฐอเมริกา" (อังกฤษ: United States Government) จะใช้ในเอกสารราชการที่จะระบุถึงที่มาคือรัฐบาลแห่งสหพันธ์ เพื่อแยกออกจากรัฐบาลท้องถิ่นของแต่ละมลรัฐ ในภาษาเขียนหรือภาษาพูดอย่างลำลอง มักจะแทนด้วยคำว่า "รัฐบาลแห่งสหพันธ์" (อังกฤษ: Federal Government) หรือ "รัฐบาลแห่งชาติ" (อังกฤษ: National Government) ก็สามารถพบเห็นได้ โดยหน่วยงานสังกัดรัฐบาลกลางนั้นมักจะระบุคำว่า "Federal" หรือ "National" ขึ้นอยู่หน้าหน่วยงานนั้นๆ อาทิเช่น หน่วยงานสอบสวนกลาง หรือ Federal Bureau of Investigation (FBI) ที่ตั้งของรัฐบาลกลางอยู่ที่ กรุงวอชิงตัน ดีซี โดยมักจะเรียกอย่างลำลองว่า "วอชิงตัน" เพื่อกล่าวถึงรัฐบาลกลาง

ฝ่ายนิติบัญญัติ

สภาคองเกรส คือชื่อเรียกของสภานิติบัญญัติในรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐอเมริกา ใช้ระบบสองสภา ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา

บทบาท

รัฐธรรมนูญได้บัญญัติถึงอำนาจของสภาคองเกรสไว้หลายประการด้วยกัน ในมาตรา 1 ตอนที่ 8 ซึ่งกล่าวถึงอำนาจในการตั้งภาษีและจัดเก็บภาษีต่างๆ, ผลิตธนบัตรและควบคุมมูลค่าเงิน, ระบุอัตราโทษสำหรับการปลอมแปลง, กำกับกิจการไปรษณีย์และคมนาคม, สนับสนุนการพัฒนาวิทยาศาสตร์ผ่านทางสิทธิบัตร, ก่อตั้งศาลแห่งสหพันธ์ซึ่งอยู่ภายใต้ศาลฎีกาแห่งสหรัฐอเมริกา, ต่อต้านการคุกคาม, ประกาศสงคราม, ก่อตั้งและช่วยเหลือกองทัพ, กำกับดูแลกิจการรวมทั้งวินัยของกองทัพและผู้บังคับใช้กฎหมาย, ตรากฎหมายเพื่อใช้บริหารประเทศ ซึ่งตั้งแต่สองร้อยปีตั้งแต่มีการก่อตั้งเป็นประเทศขึ้น ได้มีกรณีพิพาทถึงของเขตของอำนาจของรัฐบาลกลาง ซึ่งข้อพิพาทนั้นจะถูกตัดสินโดยศาลฎีกา

องค์ประกอบ

สภาผู้แทนราษฎร

สภาผู้แทนราษฎร (อังกฤษ: the House of Representatives) ประกอบไปด้วยสมาชิกที่มีสิทธิออกเสียงจำนวน 435 คน ซึ่งแต่ละคนมาจากการเลือกตั้งซึ่งแบ่งสัดส่วนตามจำนวนประชากรสำรวจล่าสุดก่อนการเลือกตั้ง ซึ่งแต่ละสมาชิกจะเป็นตัวแทนของเขตเลือกตั้ง (Congressional district) สมาชิกทั้งหมดมีวาระ 2 ปี ซึ่งในแต่ละมลรัฐจะต้องมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอย่างน้อย 1 คน ซึ่งผู้มีสิทธิสมัครเป็นเป็นส.ส.นั้นจะต้องมีอายุอย่างน้อย 25 ปีบริบูรณ์ และจะต้องถือสัญชาติอเมริกันมาอย่างน้อย 7 ปี โดยหลังจากหมดวาระแล้วสามารถลงสมัครใหม่ได้โดยไม่จำกัดครั้ง นอกเหนือจากสมาชิกที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด 435 คนแล้ว ยังมีสมาชิกอีก 6 คนที่ไม่มีสิทธิออกเสียง ประกอบด้วยผู้แทนจำนวน 5 คน (จากกรุงวอชิงตัน ดี.ซี., กวม, หมู่เกาะเวอร์จิน, อเมริกันซามัว และหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา) และข้าหลวงใหญ่ (Resident commissioner) จำนวน 1 คน สำหรับเปอร์โตริโก[1]

วุฒิสภา

วุฒิสภา (อังกฤษ: Senate) ประกอบไปด้วยวุฒิสมาชิกจำนวน 2 คนจากแต่ละมลรัฐ โดยไม่นับจากสัดส่วนประชากร ในปัจจุบันประกอบด้วยวุฒิสมาชิกจำนวน 100 คน (จากทั้งหมด 50 มลรัฐ) โดยมีวาระ 6 ปี โดยจะมีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาราวๆหนึ่งในสามของสมาชิกทั้งหมดทุกๆสองปี

การแบ่งแยกอำนาจ

ทั้งสองสภานั้นจะมีอำนาจแยกจากกัน ตัวอย่างเช่น วุฒิสภาจะต้องอนุมัติเห็นชอบ (ให้คำแนะนำและยินยอม) ต่อการแต่งตั้งข้าราชการระดับสูงโดยประธานาธิบดี เช่น คณะรัฐมนตรี ผู้พิพากษาศาลกลาง (รวมถึงตัวแทนศาลฎีกา) ผู้บัญชาการกองทัพ และเอกอัครข้าราชทูตประจำประเทศต่างๆ ส่วนการร่างกฎหมายที่เกี่ยวกับรายได้นั้นจะต้องมาจากสภาผู้แทนราษฎร โดยจะต้องได้รับการรับรองจากทั้งสองสภาในการผ่านร่างกฎหมายก่อนที่จะลงนามโดยประธานาธิบดีเพื่อเป็นกฎหมายที่บังคับใช้ได้อย่างสมบูรณ์ (หรือ ถ้าหากประธานาธิบดีใช้อำนาจไม่รับรองร่างกฎหมายใดๆ ให้กลับไปที่สภาคองเกรสเพื่อลงมติมากกว่าสองในสามของแต่ละสภา ซึ่งในกรณีนี้จะสามารถบังคับใช้เป็นกฎหมายได้อย่างสมบูรณ์โดยปราศจากการลงนามโดยประธานาธิบดี) อำนาจของสภาคองเกรสนั้นถูกจำกัดและแจกแจงไว้ตามรัฐธรรมนูญ อำนาจอื่นๆที่นอกเหนือจากนี้ให้ตกเป็นของมลรัฐและประชาชน โดยมาตราที่ 1 ของรัฐธรรมนูญได้ระบุถึงกรณีที่จำเป็นและเหมาะสม (Necessary and Proper Clause) ให้สภาคองเกรส "สามารถตรากฎหมายที่จำเป็นต่อการใช้อำนาจที่แจกแจงไว้ให้สำเร็จลงได้" สมาชิกสภาคองเกรสนั้นถูกคัดเลือกโดยการเลือกตั้ง โดยผ่านการเลือกตั้งรอบเดียวโดยผู้ที่มีคะแนนเสียงมากที่สุด ยกเว้นในรัฐหลุยเซียนา แคลิฟอร์เนีย และวอชิงตัน ที่จัดการเลือกตั้งแบบสองรอบ

การถอดถอนข้าราชการระดับสูง

สภาคองเกรสมีอำนาจถอดถอนประธานาธิบดี ผู้พิพากษากลาง และข้าราชการระดับสูงแห่งสหพันฐ์ได้ โดยทั้งสองสภาได้รับบทบาทที่แตกต่างกันในการยื่นถอดถอน โดยสภาผู้แทนราษฎรจะต้องออกเสียงเพื่อผ่านการถอดถอนนั้นๆก่อน จากนั้นวุฒิสภาจะเป็นผู้ดำเนินการสอบสวนข้อเท็จจริงเพื่อเป็นการตัดสินว่าบุคคลนั้นสมควรจะต้องถูกถอดถอนหรือไม่ ในประวัติศาสตร์อเมริกันนั้นเคยมีประธานาธิบดีถูกลงมติถอดจากตำแหน่งโดยสภาผู้แทนราษฎรจำนวน 2 คน คือ แอนดรูว์ จอห์นสัน และบิล คลินตัน แต่ทั้งสองคนก็มิได้ถูกตัดสินโดยวุฒิสภาให้ถอดถอนจากตำแหน่ง


Congressional procedures[edit] Article I, Section 2, paragraph 2 of the U.S. Constitution gives each chamber the power to "determine the rules of its proceedings." From this provision were created congressional committees, which do the work of drafting legislation and conducting congressional investigations into national matters. The 108th Congress (2003–2005) had 19 standing committees in the House and 17 in the Senate, plus four joint permanent committees with members from both houses overseeing the Library of Congress, printing, taxation and the economy. In addition, each house may name special, or select, committees to study specific problems. Today, much of the congressional workload is borne by subcommittees, of which there are some 150.


ฝ่ายบริหาร

อำนาจบริหารในรัฐบาลแห่งสหพันธ์นั้นอยู่ที่ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา[2] แต่อย่างไรก็ดีอำนาจต่างๆนั้นจะถูกแบ่งเบาโดยคณะรัฐมนตรีและข้าราชการระดับสูง[3][4] ประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีนั้นมาจากการเลือกตั้งผ่านคณะผู้เลือกตั้ง (Electoral College) โดยรัฐต่างๆ รวมทั้งวอชิงตัน ดี.ซี. จะได้รับจำนวนของที่นั่งของคณะผู้เลือกตั้งเท่ากับจำนวนของสมาชิกสภาคองเกรสในเขตนั้นๆ[2][5] ประธานาธิบดีมีวาระครั้งละ 4 ปี ไม่เกินสองสมัยติดต่อกัน หากแต่ประธานาธิบดีผู้นั้นเคยได้รับตำแหน่งมาแล้วสองสมัย แล้วถูกคั่นด้วยคนอื่น เขายังสามารถเข้ารับตำแหน่งได้อีกหนึ่งสมัยมีวาระ 4 ปี[2]


อ้างอิง

  1. US House Official Website House.gov Retrieved on 17 August 2008
  2. 2.0 2.1 2.2 Article II, Constitution of the United States of America
  3. 3 U.S.C. §§ 301303
  4. Barack, Obama (2009-04-27). "Delegation of Certain Authority Under the National Defense Authorization Act for Fiscal Year 2008". United States. สืบค้นเมื่อ 2009-07-01.
  5. Amendment XXIII to the United States Constitution