ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตุ๊กแกบ้านสีเทา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 31: บรรทัด 31:
{{wikispecies-inline|Gekko smithii}}
{{wikispecies-inline|Gekko smithii}}
{{commonscat|Gekko smithii|''Gekko smithii''}}
{{commonscat|Gekko smithii|''Gekko smithii''}}
[[category:วงศ์จิ้งจกและตุ๊กแก]]
[[หมวดหมู่:วงศ์จิ้งจกและตุ๊กแก]]
[[category:สัตว์ป่าคุ้มครอง]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ป่าคุ้มครอง]]
[[en: Gekko smithii]]
[[en: Gekko smithii]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:13, 28 กันยายน 2556

ตุ๊กแกบ้านสีเทา
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Reptilia
อันดับ: Squamata
อันดับย่อย: Sauria
วงศ์: Gekkonidae
สกุล: Gekko
สปีชีส์: G.  smithii
ชื่อทวินาม
Gekko smithii
Gray, 1842
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์

ตุ๊กแกบ้านสีเทา (อังกฤษ: Smith's green-eyed gecko, Large forest gecko; ชื่อวิทยาศาสตร์: Gekko smithii) สัตว์เลื้อยคลานประเภทจิ้งจกและตุ๊กแกชนิดหนึ่ง

เป็นตุ๊กแกขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่เต็มที่ประมาณ 20-25 เซนติเมตร หัวมีขนาดใหญ่และค่อนข้างเรียว แต่ไม่กว้างเหมือนตุ๊กแกบ้าน (G. gekko) ตาโตสีเขียว ลำตัวสีน้ำตาลเทา ตุ๊กแกที่ยังไม่โตเต็มวัย จะมีจุดสีขาวทั่วลำตัว ตัวเต็มวัยตามลำตัว และหางจะมีแต้มสีขาว และมีลายเส้นสีดำรูปแบบไม่แน่นอนกระจายทั่ว

พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภาคใต้ของประเทศไทย เช่น จังหวัดกระบี่, พังงา, สตูล, ปัตตานี, ยะลา, นราธิวาส ไปตลอดแหลมมลายูจนถึงอินโดนีเซีย, พม่า, หมู่เกาะนิโคบาร์ โดยมีการค้นพบครั้งแรกที่เกาะปีนัง และตั้งชื่อวิทยาศาสตร์เพื่อเป็นเกียรติแก่ แอนดรูว์ สมิธ นักสัตววิทยาชาวสกอต [1] [2][3] [4]

จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง[5]

อ้างอิง

  1. Boulenger, G.A. 1885 Catalogue of the Lizards in the British Museum (Nat. Hist.) I. Geckonidae, Eublepharidae, Uroplatidae, Pygopodidae, Agamidae. London: 450 pp.
  2. Gray, J. E. 1842 Description of some new species of Reptiles, chiefly from the British Museum collection. The Zoological Miscellany: 57-59.
  3. Grossmann, W. 2004 Gekko smithii Gray 1842. Sauria Supplement 26 (3): 627-634
  4. Rösler, H. 2001 Studien am Tokeh: 1. Gekko gecko azhari Mertens 1955 (Sauria: Gekkonidae). Gekkota 3: 33-46
  5. เตือนขาย'ตุ๊กแก'ต้องเหลือไว้ขยายพันธุ์ จากศูนย์สื่อสารวิทยาศาสตร์ไทย สวทช.

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Gekko smithii ที่วิกิสปีชีส์