ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่แบบ:บทความคัดสรร/กันยายน 2556"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: <div style="float:left;margin-right:0.9em"> ไฟล์:Starsinthesky.jpg|120px|ย่านก่อตัวของดาวฤกษ์ในดาราจั...
 
Mr.GentleCN (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลำดับผิดครับ
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
ตลอดอายุขัยส่วนใหญ่ของดาวฤกษ์ มันจะเปล่งแสงได้เนื่องจาก[[นิวเคลียร์ฟิวชั่น|ปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชั่น]]ที่แกนของดาว ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงานจากภายในของดาว จากนั้นจึง[[การแผ่รังสี|แผ่รังสี]]ออกไปสู่[[อวกาศ]] [[ธาตุเคมี]]เกือบทั้งหมดซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและหนักกว่า[[ฮีเลียม]]มีกำเนิดมาจากดาวฤกษ์ทั้งสิ้น โดยอาจเกิดจาก[[การสังเคราะห์นิวเคลียสของดาวฤกษ์]]ระหว่างที่ดาวยังมีชีวิตอยู่ หรือเกิดจาก[[การสังเคราะห์นิวเคลียสของซูเปอร์โนวา]]หลังจากที่ดาวฤกษ์เกิดการระเบิดหลังสิ้นอายุขัย [[นักดาราศาสตร์]]สามารถระบุขนาดของ[[มวล]] อายุ [[ความเป็นโลหะ (ดาราศาสตร์)|ส่วนประกอบทางเคมี]] และคุณสมบัติของดาวฤกษ์อีกหลายประการได้จากการสังเกต[[สเปกตรัม]] ความสว่าง และการเคลื่อนที่ในอวกาศ มวลรวมของดาวฤกษ์เป็นตัวกำหนดหลักในลำดับ[[วิวัฒนาการของดาวฤกษ์|วิวัฒนาการ]]และชะตากรรมในบั้นปลายของดาว ส่วนคุณสมบัติอื่นของดาวฤกษ์ เช่น เส้นผ่านศูนย์กลาง การหมุน การเคลื่อนที่ และอุณหภูมิ ถูกกำหนดจากประวัติวิวัฒนาการของมัน แผนภาพคู่ลำดับระหว่างอุณหภูมิกับความสว่างของดาวฤกษ์จำนวนมาก ที่รู้จักกันในชื่อ [[ไดอะแกรมของแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์]] (H-R ไดอะแกรม) ช่วยทำให้สามารถระบุอายุและรูปแบบวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ได้ ('''[[ดาวฤกษ์|อ่านต่อ...]]''')
ตลอดอายุขัยส่วนใหญ่ของดาวฤกษ์ มันจะเปล่งแสงได้เนื่องจาก[[นิวเคลียร์ฟิวชั่น|ปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชั่น]]ที่แกนของดาว ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงานจากภายในของดาว จากนั้นจึง[[การแผ่รังสี|แผ่รังสี]]ออกไปสู่[[อวกาศ]] [[ธาตุเคมี]]เกือบทั้งหมดซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและหนักกว่า[[ฮีเลียม]]มีกำเนิดมาจากดาวฤกษ์ทั้งสิ้น โดยอาจเกิดจาก[[การสังเคราะห์นิวเคลียสของดาวฤกษ์]]ระหว่างที่ดาวยังมีชีวิตอยู่ หรือเกิดจาก[[การสังเคราะห์นิวเคลียสของซูเปอร์โนวา]]หลังจากที่ดาวฤกษ์เกิดการระเบิดหลังสิ้นอายุขัย [[นักดาราศาสตร์]]สามารถระบุขนาดของ[[มวล]] อายุ [[ความเป็นโลหะ (ดาราศาสตร์)|ส่วนประกอบทางเคมี]] และคุณสมบัติของดาวฤกษ์อีกหลายประการได้จากการสังเกต[[สเปกตรัม]] ความสว่าง และการเคลื่อนที่ในอวกาศ มวลรวมของดาวฤกษ์เป็นตัวกำหนดหลักในลำดับ[[วิวัฒนาการของดาวฤกษ์|วิวัฒนาการ]]และชะตากรรมในบั้นปลายของดาว ส่วนคุณสมบัติอื่นของดาวฤกษ์ เช่น เส้นผ่านศูนย์กลาง การหมุน การเคลื่อนที่ และอุณหภูมิ ถูกกำหนดจากประวัติวิวัฒนาการของมัน แผนภาพคู่ลำดับระหว่างอุณหภูมิกับความสว่างของดาวฤกษ์จำนวนมาก ที่รู้จักกันในชื่อ [[ไดอะแกรมของแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์]] (H-R ไดอะแกรม) ช่วยทำให้สามารถระบุอายุและรูปแบบวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ได้ ('''[[ดาวฤกษ์|อ่านต่อ...]]''')


บทความคัดสรรก่อนหน้านี้: [[อีริก บานา]] – [[ชุดกีฬาฟุตบอล]] – [[วิลเลียม เชกสเปียร์]]
บทความคัดสรรก่อนหน้านี้: [[อีริก บานา]] – [[สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี]] – [[อะตอม]]
<div style="top:+0.2em; text-align:right;">'''[[วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร/พ.ศ. 2556|ที่เก็บถาวร]]''' – '''[[วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร|บทความคัดสรรอื่น ๆ]]'''</div>
<div style="top:+0.2em; text-align:right;">'''[[วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร/พ.ศ. 2556|ที่เก็บถาวร]]''' – '''[[วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร|บทความคัดสรรอื่น ๆ]]'''</div>
</div>
</div>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:17, 1 กันยายน 2556

ย่านก่อตัวของดาวฤกษ์ในดาราจักรเมฆแมเจลแลนใหญ่ ภาพจาก NASA/ESA

ดาวฤกษ์ คือวัตถุท้องฟ้าที่เป็นก้อนพลาสมาสว่างขนาดใหญ่ที่คงอยู่ได้ด้วยแรงโน้มถ่วง ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด คือ ดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานหลักของโลก เราสามารถมองเห็นดาวฤกษ์อื่น ๆ ได้บนท้องฟ้ายามราตรี หากไม่มีแสงจากดวงอาทิตย์บดบัง ในประวัติศาสตร์ ดาวฤกษ์ที่โดดเด่นที่สุดบนทรงกลมท้องฟ้าจะถูกจัดเข้าด้วยกันเป็นกลุ่มดาว และดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดจะได้รับการตั้งชื่อโดยเฉพาะ นักดาราศาสตร์ได้จัดทำบัญชีรายชื่อดาวฤกษ์เพิ่มเติมขึ้นมากมาย เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการตั้งชื่อดาวฤกษ์

ตลอดอายุขัยส่วนใหญ่ของดาวฤกษ์ มันจะเปล่งแสงได้เนื่องจากปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชั่นที่แกนของดาว ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงานจากภายในของดาว จากนั้นจึงแผ่รังสีออกไปสู่อวกาศ ธาตุเคมีเกือบทั้งหมดซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและหนักกว่าฮีเลียมมีกำเนิดมาจากดาวฤกษ์ทั้งสิ้น โดยอาจเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของดาวฤกษ์ระหว่างที่ดาวยังมีชีวิตอยู่ หรือเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของซูเปอร์โนวาหลังจากที่ดาวฤกษ์เกิดการระเบิดหลังสิ้นอายุขัย นักดาราศาสตร์สามารถระบุขนาดของมวล อายุ ส่วนประกอบทางเคมี และคุณสมบัติของดาวฤกษ์อีกหลายประการได้จากการสังเกตสเปกตรัม ความสว่าง และการเคลื่อนที่ในอวกาศ มวลรวมของดาวฤกษ์เป็นตัวกำหนดหลักในลำดับวิวัฒนาการและชะตากรรมในบั้นปลายของดาว ส่วนคุณสมบัติอื่นของดาวฤกษ์ เช่น เส้นผ่านศูนย์กลาง การหมุน การเคลื่อนที่ และอุณหภูมิ ถูกกำหนดจากประวัติวิวัฒนาการของมัน แผนภาพคู่ลำดับระหว่างอุณหภูมิกับความสว่างของดาวฤกษ์จำนวนมาก ที่รู้จักกันในชื่อ ไดอะแกรมของแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์ (H-R ไดอะแกรม) ช่วยทำให้สามารถระบุอายุและรูปแบบวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ได้ (อ่านต่อ...)

บทความคัดสรรก่อนหน้านี้: อีริก บานาสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีอะตอม