ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 33: บรรทัด 33:
กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นได้แสดงแสนยานุภาพในสงครามต่างๆ เช่น [[กบฏนักมวย]]และ[[สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น]] จนประเทศตะวันตกต่างก็เกรงใจยอมยกเลิกสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมกับจักรวรรดิญี่ปุ่น โดยกองทัพบกได้รับการสนับสนุนจาก[[กองกำลังพิเศษทางอากาศแห่งกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น]]สำหรับอากาศยานและปฏิบัติการโจมตีทางอากาศจากฐานทัพบนบก กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นเป็นคู่ต่อสู้หลักของ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]]ใน[[สงครามมหาสมุทรแปซิฟิก]]
กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นได้แสดงแสนยานุภาพในสงครามต่างๆ เช่น [[กบฏนักมวย]]และ[[สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น]] จนประเทศตะวันตกต่างก็เกรงใจยอมยกเลิกสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมกับจักรวรรดิญี่ปุ่น โดยกองทัพบกได้รับการสนับสนุนจาก[[กองกำลังพิเศษทางอากาศแห่งกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น]]สำหรับอากาศยานและปฏิบัติการโจมตีทางอากาศจากฐานทัพบนบก กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นเป็นคู่ต่อสู้หลักของ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]]ใน[[สงครามมหาสมุทรแปซิฟิก]]


== ดูเพิ่ม ==
== เชิงอรรถ ==


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

== ดูเพิ่ม ==


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

== เชิงอรรถ ==


[[หมวดหมู่:กองทัพบกญี่ปุ่น]]
[[หมวดหมู่:กองทัพบกญี่ปุ่น]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:30, 24 สิงหาคม 2556

กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น
大日本帝國陸軍
Dai-Nippon Teikoku Rikugun
ธงของกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น
ประจำการ1867–1945
ประเทศ ญี่ปุ่น
ขึ้นต่อจักรพรรดิ
เหล่ากองทัพบก
รูปแบบกองทัพบก
บทบาทกองกำลังต่อสู้
กำลังรบ6,095,000 นาย
ปฏิบัติการสำคัญสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง
สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง
สงครามโลกครั้งที่สอง
ผู้บังคับบัญชา
ผบ. สำคัญยามากาตะ อริโทโม, โอยามะ อิวาโอะ, เจ้าชายคังอิน โคะโตะฮิโตะ, ฮาจิเมะ ซึกิยามะ, ฮิเดะกิ โทโจ, ยาสุจิ โอกามูระ, ชุนโระกุ ฮาตะ, ทาดามิชิ คุริบายาชิ, โทโมยูกิ ยามาชิตะ, มาซาฮารุ ฮอมมะ

กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น (Kyūjitai: 大日本帝國陸軍, Shinjitai: 大日本帝国陸軍, Romaji: Dai-Nippon Teikoku Rikugun) หรืออีกชื่อคือ กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นอันยิ่งใหญ่ เป็นกองทัพบกของจักรวรรดิญี่ปุ่นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1871 จนถึง ค.ศ. 1945 เมื่อถูกยุบตามรัฐธรรมนูญแห่งประเทศญี่ปุ่นที่จะสละการใช้กองกำลังเป็นวิธีของการยุติข้อขัดแย้งระหว่างประเทศ กองกำลังป้องกันตนเองทางบกแห่งญี่ปุ่น (JGSDF) จึงได้มีการจัดตั้งหลังจากการสลายของกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น

กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นได้แสดงแสนยานุภาพในสงครามต่างๆ เช่น กบฏนักมวยและสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น จนประเทศตะวันตกต่างก็เกรงใจยอมยกเลิกสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมกับจักรวรรดิญี่ปุ่น โดยกองทัพบกได้รับการสนับสนุนจากกองกำลังพิเศษทางอากาศแห่งกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นสำหรับอากาศยานและปฏิบัติการโจมตีทางอากาศจากฐานทัพบนบก กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นเป็นคู่ต่อสู้หลักของฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามมหาสมุทรแปซิฟิก

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

เชิงอรรถ