ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชวงศ์เว็ททีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
| cadet branches = ตามลำดับอาวุโส:</br>
| cadet branches = ตามลำดับอาวุโส:</br>
'''สายเอิร์นเนสทีน:'''
'''สายเอิร์นเนสทีน:'''
*[[แซ็กซ์-ไวมาร์-ไอเซ็นนาค]] (แกรนด์ดัชชีแห่งแซกโซนี)
*[[แซ็กซ์-ไวมาร์-ไอเซ็นนาค]]
*[[แซ็กซ์-ไมนิงเก็น]]
*[[แซ็กซ์-ไมนิงเก็น]]
*[[แซ็กซ์-โคบวร์กและโกทา]]
*[[แซ็กซ์-โคบวร์กและโกทา]]
</br>'''สายอัลเบอร์ทีน:'''
'''สายอัลเบอร์ทีน:'''
*[[อาณาจักรเลือกตั้งแห่งแซกโซนี|อาณาจักรเลือกตั้ง]]/[[ราชอาณาจักรแซกโซนี]]
*[[อาณาจักรเลือกตั้งแห่งแซกโซนี|อาณาจักรเลือกตั้ง]]/[[ราชอาณาจักรแซกโซนี]]
}}
}}
บรรทัด 38: บรรทัด 38:




== ราชวงศ์เวททินสายเอิร์นเนสทีน และอัลเบอร์ทีน==
== Ernestine and Albertine Wettins ==<!-- This section is linked from [[Schmalkaldic League]] -->
[[File:Coat of arms of Wettin House Albert Line.png|120px|left|thumb|Albertine Wettin's coat of arms with the standard arms at the center.]]
[[File:Coat of arms of Wettin House Albert Line.png|120px|left|thumb|ตราสัญลักษณ์ของราชวงศ์เวททินสายอัลเบอร์ทีน]]


ราชวงศ์ได้แบ่งเป็นทั้งหมด 2 สายปกครองใหญ่ๆ ในปีค.ศ. 1485 เมื่อพระโอรสของ[[เฟรเดอริกที่ 2 เจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแห่งแซกโซนี]] แบ่งดินแดนและปกครองร่วมกัน
{{main|Treaty of Leipzig}}
The family divided into two ruling branches in 1485 when the sons of [[Frederick II, Elector of Saxony]], divided the territories hitherto ruled jointly.


พระโอรสพระองค์ใหญ่ [[เอิร์นเนส, เจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแห่งแซกโซนี]] ได้รับตำแหน่งต่อจากพระราชบิดาในฐานะของ [[พรินซ์อีเล็คเตอร์]] (เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก) รวมทั้งดินแดนส่วนหนึ่งที่ตกอยู่ในปกครองของพระองค์ ได้แก่ [[รัฐผู้คัดเลือกแซกโซนี]] (Electorate of Saxony) และ[[ทูริงเกีย]] (Thuringia) ในขณะที่พระโอรสพระองค์เล็ก คือ [[ดยุกอัลเบิร์ตที่ 3 แห่งแซกโซนี]] ได้รับดินแดน[[รัฐมาร์เกรฟไมเซิน]] ซึ่งทรงปกครองจาก[[เดรสเดิน]] ในฐานะที่พระองค์ทรงปกครองในฐานะ "[[ดัชชีแซกโซนี|ดยุกแห่งแซกโซนี]]"
The elder son [[Ernest, Elector of Saxony|Ernest]], who had succeeded his father as [[Prince-elector]], received the territories assigned to the Elector (''[[Electorate of Saxony]]'') and [[Thuringia]], while his younger brother [[Albert, Duke of Saxony|Albert]] obtained the [[March of Meissen]], which he ruled from [[Dresden]]. As Albert ruled under the title of "Duke of Saxony", his possessions were also known as ''Ducal Saxony''.


สายที่อาวุโสกว่า คือ สายเอิร์นเนสทีนนั้นเป็นสายหลักที่ปกครองจนกระทั่งปีค.ศ. 1547 และมีบทบาทสำคัญยิ่งในช่วงแรกของ[[การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์]] บทบาทหลักของสายเอิร์นเนสทีนนั้นสิ้นสุดลงหลังจาก[[สงครามชมัลกัลดิก]] ซึ่งได้สนับสนุนกับฝ่ายโปรเตสแตนท์ของกลุ่มสันนิบาตชมัลกัลดิก กับ[[จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิคาร์ลที่ 5]] และถึงแม้ว่าสายอัลเบอร์ทีนจะเป็นโปรเตสแตนท์ด้วย แต่ก็ยกทัพเข้ากับฝ่ายของจักรพรรดิ พระองค์จึงพระราชทานรางวัลให้โดยตัดสมาชิกสายเอิร์นเนสทีนจากสิทธิ์ในการเป็น[[เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก]] รวมทั้งดินแดน[[รัฐผู้คัดเลือกแซกโซนี]]อีกด้วย ส่วนสายเอิร์นเนสทีนนั้นเหลือแต่การปกครองในดินแดน[[ทูริงเกีย]]เท่านั้น แต่นั้นมาราชวงศ์สายนี้ก็ระส่ำระสาย
The older, Ernestine branch remained predominant until 1547 and played an important role in the beginnings of the [[Protestant Reformation]]. Their predominance ended in the [[Schmalkaldic War]], which pitted the Protestant [[Schmalkaldic League]] against [[Charles V, Holy Roman Emperor|Emperor Charles V]]. Although itself Protestant, the Albertine branch rallied to the Empire's cause; Charles V rewarded them by forcing the Ernestines to sign away their rights to the Electoral title and lands to the Albertines. The Ernestine line was thereafter restricted to Thuringia, and its dynastic unity swiftly crumbled.


สายอัลเบอร์ทีนนั้นได้คุมอำนาจการปกครองดินแดนแห่งแซกโซนี และเป็นราชวงศ์สายที่มีอำนาจมากในดินแดนแถบนั้น และใช้การแบ่งดินแดนเล็กๆเพื่อให้รัชทายาทปกครองตามอาวุโส ซึ่งบางดินแดนนั้นอยู่รอดผ่านมาได้เป็นเวลายาวนาน ในขณะที่ราชวงศ์เวททินสายเอิร์นเนสทีนนั้น ได้เลือกที่จะแบ่งดินแดนเป็น[[กลุ่มดัชชีเออร์เนสตีน|ดัชชีและราชรัฐต่างๆ]]ในทูริงเกีย
The Albertine Wettin maintained most of the territorial integrity of Saxony, preserving it as a significant power in the region, and using small [[appanage]] fiefs for their cadet branches, few of which survived for significant lengths of time. The Ernestine Wettin, on the other hand, repeatedly subdivided their territory, creating an intricate patchwork of small [[Ernestine duchies|duchies and counties]] in Thuringia.


สายที่อาวุโสน้อยกว่า คือ สายอัลเบอร์ทีนนั้นได้ปกครองในฐานะ [[เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก]] (ค.ศ. 1546 - 1806) และต่อมากษัตริย์แห่งแซกโซนี (ค.ศ. 1806 – 1918) และยังมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ของโปแลนด์: สมาชิกสองพระองค์ได้เป็น[[รายพระนามพระมหากษัตริย์โปแลนด์|กษัตริย์แห่งโปแลนด์]] (ระหว่างปีค.ศ. 1697 - 1763) และอีกพระองค์ปกครอง[[ดัชชีแห่งวอร์ซอ]] (ค.ศ. 1807 - 1814) ในฐานะตัวแทนของ[[จักรพรรดินโปเลียนที่ 1|จักรพรรดินโปเลียน]] และหลังจาก[[สงครามนโปเลียน]] ได้สูญเสียดินแดนของสายนี้ไปถึง 40% รวมถึงดินแดน[[รัฐผู้คัดเลือกแซกโซนี]] ให้กับปรัสเซีย ซึ่งกลายเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนของ[[รัฐซัคเซิน]]ในยุคถัดมา (ดูรายละเอียดใน [[การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา]])
The junior Albertine branch ruled as Electors (1547–1806) and Kings of Saxony (1806–1918) and also played a role in Polish history: two Wettin were [[List of Polish rulers|Kings of Poland]] (between 1697–1763) and a third ruled the [[Duchy of Warsaw]] (1807–1814) as a satellite of [[Napoleon I|Napoleon]]. After the [[Napoleonic Wars]], the Albertine branch lost about 40% of its lands, including the old Electorate of Saxony, to Prussia, restricting it to a territory coextensive with the modern [[Saxony]] (see [[Final Act of the Congress of Vienna]] [[s:Final Act of the Congress of Vienna/Act IV|Act IV: Treaty between Prussia and Saxony]] 18 May 1815).

[[Image:Dresden-Hofkirche-Gruft.jpg|thumb|Catholic members of the Wettin dynasty buried in the crypt chapel of the [[Katholische Hofkirche]], [[Dresden]].]]


[[Image:Dresden-Hofkirche-Gruft.jpg|thumb|สมาชิกฝ่าย[[โรมันคาทอลิก]]ของราชวงศ์เวททินนั้นฝังอยู่ที่[[คริพท์]]ในโบสถ์คาทอลิกแห่งราชสำนักแซกโซนี (Katholische Hofkirche) ที่[[เดรสเดิน]]]]


==ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา==
==ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:28, 1 สิงหาคม 2556

ราชวงศ์เว็ททีน
พระราชอิสริยยศ
ปกครองแซกโซนี
เชื้อชาติเยอรมัน
สาขาตามลำดับอาวุโส:

สายเอิร์นเนสทีน:

สายอัลเบอร์ทีน:

ประมุขพระองค์แรกทีเดอริคัส
ผู้นำสกุลองค์ปัจจุบันมิคาเอล เจ้าชายแซ็กซ์-ไวมาร์-ไอเซ็นนาค แกรนด์ดยุกแห่งแซกโซนีในนาม
ประมุขพระองค์สุดท้ายประมุขในหลายอาณาจักรจนถึง ค.ศ. 1918
สถาปนาราว ค.ศ. 900 (1,113 ปีก่อน)
สิ้นสุดค.ศ. 1918

ราชวงศ์เวททิน (อังกฤษ: House of Wettin) เป็นราชตระกูลเคานท์, ดยุก, พรินซ์อีเล็คเตอร์ (Kurfürsten) และ พระมหากษัตริย์เยอรมันที่เคยปกครองดินแดนที่ในปัจจุบันคือรัฐแซกโซนีในเยอรมนี เป็นเวลากว่า 953 ปี, ส่วนที่เป็นแซ็กซอนในแซกโซนี-อันฮาลท์ และ ทูริงเกีย เป็นเวลากว่า 800 ปี นอกจากนั้นในบางครั้งก็ยังครองโปแลนด์ และ ลิทัวเนีย, บริเตนใหญ่, โปรตุเกส, บัลแกเรีย และเบลเยียม ในปัจจุบันเหลือเพียงในบริเตนใหญ่ (สหราชอาณาจักร) กับเบลเยียมเท่านั้นที่ยังครองราชบัลลังก์อยู่


ราชวงศ์เวททินสายเอิร์นเนสทีน และอัลเบอร์ทีน

ตราสัญลักษณ์ของราชวงศ์เวททินสายอัลเบอร์ทีน

ราชวงศ์ได้แบ่งเป็นทั้งหมด 2 สายปกครองใหญ่ๆ ในปีค.ศ. 1485 เมื่อพระโอรสของเฟรเดอริกที่ 2 เจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแห่งแซกโซนี แบ่งดินแดนและปกครองร่วมกัน

พระโอรสพระองค์ใหญ่ เอิร์นเนส, เจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแห่งแซกโซนี ได้รับตำแหน่งต่อจากพระราชบิดาในฐานะของ พรินซ์อีเล็คเตอร์ (เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก) รวมทั้งดินแดนส่วนหนึ่งที่ตกอยู่ในปกครองของพระองค์ ได้แก่ รัฐผู้คัดเลือกแซกโซนี (Electorate of Saxony) และทูริงเกีย (Thuringia) ในขณะที่พระโอรสพระองค์เล็ก คือ ดยุกอัลเบิร์ตที่ 3 แห่งแซกโซนี ได้รับดินแดนรัฐมาร์เกรฟไมเซิน ซึ่งทรงปกครองจากเดรสเดิน ในฐานะที่พระองค์ทรงปกครองในฐานะ "ดยุกแห่งแซกโซนี"

สายที่อาวุโสกว่า คือ สายเอิร์นเนสทีนนั้นเป็นสายหลักที่ปกครองจนกระทั่งปีค.ศ. 1547 และมีบทบาทสำคัญยิ่งในช่วงแรกของการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ บทบาทหลักของสายเอิร์นเนสทีนนั้นสิ้นสุดลงหลังจากสงครามชมัลกัลดิก ซึ่งได้สนับสนุนกับฝ่ายโปรเตสแตนท์ของกลุ่มสันนิบาตชมัลกัลดิก กับจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 และถึงแม้ว่าสายอัลเบอร์ทีนจะเป็นโปรเตสแตนท์ด้วย แต่ก็ยกทัพเข้ากับฝ่ายของจักรพรรดิ พระองค์จึงพระราชทานรางวัลให้โดยตัดสมาชิกสายเอิร์นเนสทีนจากสิทธิ์ในการเป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือก รวมทั้งดินแดนรัฐผู้คัดเลือกแซกโซนีอีกด้วย ส่วนสายเอิร์นเนสทีนนั้นเหลือแต่การปกครองในดินแดนทูริงเกียเท่านั้น แต่นั้นมาราชวงศ์สายนี้ก็ระส่ำระสาย

สายอัลเบอร์ทีนนั้นได้คุมอำนาจการปกครองดินแดนแห่งแซกโซนี และเป็นราชวงศ์สายที่มีอำนาจมากในดินแดนแถบนั้น และใช้การแบ่งดินแดนเล็กๆเพื่อให้รัชทายาทปกครองตามอาวุโส ซึ่งบางดินแดนนั้นอยู่รอดผ่านมาได้เป็นเวลายาวนาน ในขณะที่ราชวงศ์เวททินสายเอิร์นเนสทีนนั้น ได้เลือกที่จะแบ่งดินแดนเป็นดัชชีและราชรัฐต่างๆในทูริงเกีย

สายที่อาวุโสน้อยกว่า คือ สายอัลเบอร์ทีนนั้นได้ปกครองในฐานะ เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก (ค.ศ. 1546 - 1806) และต่อมากษัตริย์แห่งแซกโซนี (ค.ศ. 1806 – 1918) และยังมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ของโปแลนด์: สมาชิกสองพระองค์ได้เป็นกษัตริย์แห่งโปแลนด์ (ระหว่างปีค.ศ. 1697 - 1763) และอีกพระองค์ปกครองดัชชีแห่งวอร์ซอ (ค.ศ. 1807 - 1814) ในฐานะตัวแทนของจักรพรรดินโปเลียน และหลังจากสงครามนโปเลียน ได้สูญเสียดินแดนของสายนี้ไปถึง 40% รวมถึงดินแดนรัฐผู้คัดเลือกแซกโซนี ให้กับปรัสเซีย ซึ่งกลายเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนของรัฐซัคเซินในยุคถัดมา (ดูรายละเอียดใน การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา)

สมาชิกฝ่ายโรมันคาทอลิกของราชวงศ์เวททินนั้นฝังอยู่ที่คริพท์ในโบสถ์คาทอลิกแห่งราชสำนักแซกโซนี (Katholische Hofkirche) ที่เดรสเดิน

ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

หลังจากที่สมาชิกอาวุโสสายเอิร์นเนสทีนได้สูญเสียสิทธิการเป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกให้แก่สายอัลเบอร์ทีนในปีค.ศ. 1547 แต่ยังคงถือสิทธิ์ในดินแดนทูริงเกีย โดยแบ่งเป็นราชรัฐเล็กๆหลายแห่ง โดยหนึ่งในนั้นได้แก่ สายซัคเซิน-โคบูร์กและซาลเฟลด์ และต่อมาเปลี่ยนเป็น สายซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ตั้งแต่ปีค.ศ. 1826 เป็นต้นไป และจากนั้นได้รับการคัดเลือกเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม (ตั้งแต่ปีค.ศ. 1831) และบัลแกเรีย (ค.ศ. 1908 - 1946) รวมถึงการส่งเจ้าชายไปอภิเษกกับประมุขแห่งโปรตุเกส (พระเจ้าเฟอร์นันโดที่ 2 แห่งโปรตุเกส) และสหราชอาณาจักร (เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี) ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า ราชบัลลังก์ของบริเตนใหญ่ และโปรตุเกสนั้นสืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์เวททิน

ตั้งแต่รัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 1 จนกระทั่งสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ราชวงศ์แห่งอังกฤษนั้นมักจะถูกเรียกบ่อยครั้งว่า ฮันโนเวอร์, เบราน์ชไวก์ และเกลฟ ต่อมาปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ทรงมีพระราชโองการให้ราชสำนักสืบค้นราชสกุลที่ถูกต้องที่สุดของพระราชสวามี คือ เจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาซึ่งราชสกุลนี้จะกลายเป็นนามของพระราชวงศ์ที่จะใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระราชโอรสของพระองค์ และภายหลังจากการสืบค้นอย่างถี่ถ้วนแล้วสามารถสรุปได้ว่าเป็นราชวงศ์เวททิน แต่กระนั้นก็มิเคยเห็นนามนี้ปรากฎในพระปรมาภิไธยของสมเด็จพระราชินีนาถ พระราชโอรส หรือแม้กระทั่งพระราชนัดดาเลย โดยสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7และสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ได้ทรงให้ออกพระนามพระราชวงศ์ว่า "ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา"

หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้กระแสการต่อต้านเยอรมันนั้นรุนแรงมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อพระราชวงศ์ เนื่องจากนามพระราชวงศ์นั้นออกเสียงไปในทางแบบเยอรมัน ที่ปรึกษาของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ได้พยายามค้นหาชื่อที่เหมาะสมกว่าสำหรับพระราชวงศ์ แต่ "เวททิน" ก็ยังถูกปฏิเสธเนืื่องจากความไม่เหมาะสม และในที่สุดก็ออกประกาศให้เปลี่ยนนามพระราชวงศ์ใหม่เป็น "วินด์เซอร์" มาจนกระทั่งปัจจุบัน

อ้างอิง

ดูเพิ่ม