ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นอร์ทอเมริกัน พี-51 มัสแตง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
'''นอร์ทอเมริกันเอวิเอชัน พี-51 มัสแตง''' ({{lang-en|North American Aviation P-51 Mustang}}) เป็น[[เครื่องบินขับไล่]]และ[[เครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิด|ทิ้งระเบิด]]พิสัยไกลหนึ่งที่นั่งสัญชาติอเมริกาซึ่งถูกใช้ใน[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] [[สงครามเกาหลี]] และสงครามอื่นๆ มันถูกออกแบบและสร้างโดย[[นอร์ทอเมริกันเอวิเอชัน]]หรือเอ็นเอเอเพื่อตอบโจทย์ของกระทรวงการบินจากการสั่งซื้อของอังกฤษ ลำตันแบบคือเอ็นเอ-73เอ็กซ์ที่สร้างเสร็จในวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2483 เป็นเวลา 102 วันหลังจากมีการเซ็นสัญญาและทำการบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม<ref>Kinzey 1996, p. 5.</ref>
'''นอร์ทอเมริกันเอวิเอชัน พี-51 มัสแตง''' ({{lang-en|North American Aviation P-51 Mustang}}) เป็น[[เครื่องบินขับไล่]]และ[[เครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิด|ทิ้งระเบิด]]พิสัยไกลหนึ่งที่นั่งสัญชาติอเมริกาซึ่งถูกใช้ใน[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] [[สงครามเกาหลี]] และสงครามอื่นๆ มันถูกออกแบบและสร้างโดย[[นอร์ทอเมริกันเอวิเอชัน]]หรือเอ็นเอเอเพื่อตอบโจทย์ของกระทรวงการบินจากการสั่งซื้อของอังกฤษ ลำตันแบบคือเอ็นเอ-73เอ็กซ์ที่สร้างเสร็จในวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2483 เป็นเวลา 102 วันหลังจากมีการเซ็นสัญญาและทำการบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม<ref>Kinzey 1996, p. 5.</ref>


เดิมทีมัสแตงถูกออกแบบมาเพื่อใช้เครื่องยนต์อัลลิสัน วี-1710 ซึ่งมีความสูงที่จำกัดในการบิน การบินครั้งแรกเกิดขึ้นโดยกองทัพอากาศอังกฤษเพื่อทำหน้าที่ลาดตระเวนทางอากาศและเป็นเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิด (มัสแตง มาร์ค 1) ต่อมามีการใช้เครื่องยนต์โรลส์-รอยซ์ เมอร์ลินในรุ่นพี-51บีและซีเพื่อให้มัสแตงสามารถบินได้ที่ความสูงเหนือ 15,000 ฟุต ซึ่งทำให้มันบินได้ดีกว่าหรือเท่ากับเครื่องบินส่วนมากของกองทัพอากาศเยอรมนี<ref>Kinzey 1996, p. 56.</ref>{{#tag:ref|ในขณะที่เครื่องยนต์เมอร์ลินทำความเร็วสูงสุดบนความสูง 15,000 ฟุตได้มากกว่าเครื่องยนต์อัลลิสัน แต่ก็ยังเป็นเรื่องพิสูจน์ไม่ได้ว่าเครื่องยนต์เมอร์ลินสามารถทำพิสัยได้ไกลกว่าเครื่องยนต์อัลลิสัน ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพของเครื่อง เครื่องยนต์ทั้งสองแบบเพิ่มพิสัยของมัสแตงให้ไกลขึ้น<ref>Kinzey 1996, p. 57.</ref>|group=nb}} รุ่นสุดท้ายคือพี-51ดีซึ่งมีเครื่องยนต์เป็นเครื่องแพคคาร์ด วี-1650-7 เป็นเครื่องยนต์ดัดแปลงจากเครื่องยนต์โรลส์-รอยซ์ 60 ที่เป็นเครื่องยนต์ซูเปอร์ชาร์จเจอร์สองความเร็ว และมีอาวุธเป็น[[ปืนกลเอ็ม2 บราวนิง]]ขนาด 12.7 มม.หกกระบอก<ref>Kinzey 1997, pp. 10–13.</ref>
เดิมทีมัสแตงถูกออกแบบมาเพื่อใช้เครื่องยนต์อัลลิสัน วี-1710 ซึ่งมีความสูงที่จำกัดในการบิน การบินครั้งแรกเกิดขึ้นโดยกองทัพอากาศอังกฤษเพื่อทำหน้าที่ลาดตระเวนทางอากาศและเป็นเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิด (มัสแตง มาร์ค 1) ต่อมามีการใช้เครื่องยนต์โรลส์-รอยซ์ เมอร์ลินในรุ่นพี-51บีและซีเพื่อให้มัสแตงสามารถบินได้ที่ความสูงเหนือ 15,000 ฟุต ซึ่งทำให้มันบินได้ดีกว่าหรือเท่ากับเครื่องบินส่วนมากของกองทัพอากาศเยอรมนี<ref>Kinzey 1996, p. 56.</ref> รุ่นสุดท้ายคือพี-51ดีซึ่งมีเครื่องยนต์เป็นเครื่องแพคคาร์ด วี-1650-7 เป็นเครื่องยนต์ดัดแปลงจากเครื่องยนต์โรลส์-รอยซ์ 60 ที่เป็นเครื่องยนต์ซูเปอร์ชาร์จเจอร์สองความเร็ว และมีอาวุธเป็น[[ปืนกลเอ็ม2 บราวนิง]]ขนาด 12.7 มม.หกกระบอก<ref>Kinzey 1997, pp. 10–13.</ref>


ตั้งแต่ปลายปีพ.ศ. 2486 พี-51บีถูกใช้โดยกองทัพอากาศที่ 8 ของสหรัฐอเมริกาเพื่อคุ้มกันเครื่องบินทิ้งระเบิดที่ต้องบินในน่านฟ้าของนาซีเยอรมนี ในขณะที่กองทัพอากาศทางยุทธวิธีที่ 2 ของอังกฤษและกองทัพอากาศที่ 9 ของสหรัฐฯ ใช้เครื่องบินมัสแตงเครื่องยนต์เมอร์ลินทำหน้าที่ทิ้งระเบิดและขับไล่ เป็นบทบาทที่เพิ่มความแน่นอนให้กับความเป็นเจ้าอากาศของฝ่ายสัมพันธมิตรในปีพ.ศ. 2487<ref name="Gunston p. 58">Gunston 1984, p. 58.</ref> พี-51 ยังทำหน้าที่ให้กับฝ่ายสัมพันธมิตรในการรบบริเวณแอฟริกาเหนือเหนือทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและอิตาลี นอกจากนี้ยังทำการรบกับจักรวรรดิญี่ปุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกอีกด้วย ในสงครามโลกครั้งที่ 2 นักบินมัสแตงอ้างว่าได้ยิงเครื่องบินศัตรูตกไป 4,950 ลำ{{#tag:ref|ใหมู่เครื่องบินของฝ่ายสัมพันธมิตร บี-51 เป็นเครื่องบินที่มีคะแนนดีที่สุดเป็นรองจากเครื่องบิน[[กรัมแมน เอฟ6เอฟ เฮลล์แคท]]<ref>Tillman 1996, pp. 78–79.</ref>|group=nb}}
ตั้งแต่ปลายปีพ.ศ. 2486 พี-51บีถูกใช้โดยกองทัพอากาศที่ 8 ของสหรัฐอเมริกาเพื่อคุ้มกันเครื่องบินทิ้งระเบิดที่ต้องบินในน่านฟ้าของนาซีเยอรมนี ในขณะที่กองทัพอากาศทางยุทธวิธีที่ 2 ของอังกฤษและกองทัพอากาศที่ 9 ของสหรัฐฯ ใช้เครื่องบินมัสแตงเครื่องยนต์เมอร์ลินทำหน้าที่ทิ้งระเบิดและขับไล่ เป็นบทบาทที่เพิ่มความแน่นอนให้กับความเป็นเจ้าอากาศของฝ่ายสัมพันธมิตรในปีพ.ศ. 2487<ref name="Gunston p. 58">Gunston 1984, p. 58.</ref> พี-51 ยังทำหน้าที่ให้กับฝ่ายสัมพันธมิตรในการรบบริเวณแอฟริกาเหนือเหนือทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและอิตาลี นอกจากนี้ยังทำการรบกับจักรวรรดิญี่ปุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกอีกด้วย ในสงครามโลกครั้งที่ 2 นักบินมัสแตงอ้างว่าได้ยิงเครื่องบินศัตรูตกไป 4,950 ลำ


เมื่อสงครามเกาหลีเริ่มต้นขึ้น มัสแตงได้กลายเป็นเครื่องบินขับไล่ประเภทหลักของ[[สหประชาชาติ]]จนกระทั่งเครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์ไอพ่น เช่น [[นอร์ทอเมริกัน เอฟ-86 เซเบอร์]]เข้ามาทำหน้าที่แทน จากนั้นมัสแตงก็กลายเป็นเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดแบบพิเศษ แม้ว่าเครื่องบินไอพ่นจะเข้ามาแทนที่แต่มัสแตงก็ยังคงประจำการในกองทัพอากาศในบางประเทศจนถึงต้นทษวรรษที่ 2523 หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 และสงครามเกาหลี มัสแตงจำนวนมากถูกดัดแปลงให้ใช้โดยพลเรือน โดยเฉพาะการแข่งขันทางอากาศและการบินแสดงในการแสดงเครื่องบินต่างๆ
เมื่อสงครามเกาหลีเริ่มต้นขึ้น มัสแตงได้กลายเป็นเครื่องบินขับไล่ประเภทหลักของ[[สหประชาชาติ]]จนกระทั่งเครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์ไอพ่น เช่น [[นอร์ทอเมริกัน เอฟ-86 เซเบอร์]]เข้ามาทำหน้าที่แทน จากนั้นมัสแตงก็กลายเป็นเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดแบบพิเศษ แม้ว่าเครื่องบินไอพ่นจะเข้ามาแทนที่แต่มัสแตงก็ยังคงประจำการในกองทัพอากาศในบางประเทศจนถึงต้นทษวรรษที่ 2523 หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 และสงครามเกาหลี มัสแตงจำนวนมากถูกดัดแปลงให้ใช้โดยพลเรือน โดยเฉพาะการแข่งขันทางอากาศและการบินแสดงในการแสดงเครื่องบินต่างๆ


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
===Notes===
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:45, 29 กรกฎาคม 2556

นอร์ทอเมริกัน พี-51 มัสแตง
บทบาทเครื่องบินขับไล่, เครื่องบินขับไล่-ทิ้งระเบิด
ชาติกำเนิด สหรัฐ
บริษัทผู้ผลิตนอร์ทอเมริกันเอวิเอชัน
บินครั้งแรก26 ตุลาคม 2483
เริ่มใช้2485
สถานะปลดประจำการทางทหารในปี 2527, ยังใช้ในงานพลเรือน
ผู้ใช้งานหลักกองทัพอากาศสหรัฐ
และอีกหลายประเทศ
จำนวนที่ผลิตกว่า 15,000 ลำ[1]
มูลค่า50,985 ดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2488[2]
แบบอื่นนอร์ทอเมริกัน เอฟ-82 ทวินมัสแตง

นอร์ทอเมริกันเอวิเอชัน พี-51 มัสแตง (อังกฤษ: North American Aviation P-51 Mustang) เป็นเครื่องบินขับไล่และทิ้งระเบิดพิสัยไกลหนึ่งที่นั่งสัญชาติอเมริกาซึ่งถูกใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 สงครามเกาหลี และสงครามอื่นๆ มันถูกออกแบบและสร้างโดยนอร์ทอเมริกันเอวิเอชันหรือเอ็นเอเอเพื่อตอบโจทย์ของกระทรวงการบินจากการสั่งซื้อของอังกฤษ ลำตันแบบคือเอ็นเอ-73เอ็กซ์ที่สร้างเสร็จในวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2483 เป็นเวลา 102 วันหลังจากมีการเซ็นสัญญาและทำการบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม[3]

เดิมทีมัสแตงถูกออกแบบมาเพื่อใช้เครื่องยนต์อัลลิสัน วี-1710 ซึ่งมีความสูงที่จำกัดในการบิน การบินครั้งแรกเกิดขึ้นโดยกองทัพอากาศอังกฤษเพื่อทำหน้าที่ลาดตระเวนทางอากาศและเป็นเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิด (มัสแตง มาร์ค 1) ต่อมามีการใช้เครื่องยนต์โรลส์-รอยซ์ เมอร์ลินในรุ่นพี-51บีและซีเพื่อให้มัสแตงสามารถบินได้ที่ความสูงเหนือ 15,000 ฟุต ซึ่งทำให้มันบินได้ดีกว่าหรือเท่ากับเครื่องบินส่วนมากของกองทัพอากาศเยอรมนี[4] รุ่นสุดท้ายคือพี-51ดีซึ่งมีเครื่องยนต์เป็นเครื่องแพคคาร์ด วี-1650-7 เป็นเครื่องยนต์ดัดแปลงจากเครื่องยนต์โรลส์-รอยซ์ 60 ที่เป็นเครื่องยนต์ซูเปอร์ชาร์จเจอร์สองความเร็ว และมีอาวุธเป็นปืนกลเอ็ม2 บราวนิงขนาด 12.7 มม.หกกระบอก[5]

ตั้งแต่ปลายปีพ.ศ. 2486 พี-51บีถูกใช้โดยกองทัพอากาศที่ 8 ของสหรัฐอเมริกาเพื่อคุ้มกันเครื่องบินทิ้งระเบิดที่ต้องบินในน่านฟ้าของนาซีเยอรมนี ในขณะที่กองทัพอากาศทางยุทธวิธีที่ 2 ของอังกฤษและกองทัพอากาศที่ 9 ของสหรัฐฯ ใช้เครื่องบินมัสแตงเครื่องยนต์เมอร์ลินทำหน้าที่ทิ้งระเบิดและขับไล่ เป็นบทบาทที่เพิ่มความแน่นอนให้กับความเป็นเจ้าอากาศของฝ่ายสัมพันธมิตรในปีพ.ศ. 2487[6] พี-51 ยังทำหน้าที่ให้กับฝ่ายสัมพันธมิตรในการรบบริเวณแอฟริกาเหนือเหนือทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและอิตาลี นอกจากนี้ยังทำการรบกับจักรวรรดิญี่ปุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกอีกด้วย ในสงครามโลกครั้งที่ 2 นักบินมัสแตงอ้างว่าได้ยิงเครื่องบินศัตรูตกไป 4,950 ลำ

เมื่อสงครามเกาหลีเริ่มต้นขึ้น มัสแตงได้กลายเป็นเครื่องบินขับไล่ประเภทหลักของสหประชาชาติจนกระทั่งเครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์ไอพ่น เช่น นอร์ทอเมริกัน เอฟ-86 เซเบอร์เข้ามาทำหน้าที่แทน จากนั้นมัสแตงก็กลายเป็นเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดแบบพิเศษ แม้ว่าเครื่องบินไอพ่นจะเข้ามาแทนที่แต่มัสแตงก็ยังคงประจำการในกองทัพอากาศในบางประเทศจนถึงต้นทษวรรษที่ 2523 หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 และสงครามเกาหลี มัสแตงจำนวนมากถูกดัดแปลงให้ใช้โดยพลเรือน โดยเฉพาะการแข่งขันทางอากาศและการบินแสดงในการแสดงเครื่องบินต่างๆ

อ้างอิง

  1. "North American P-51D Mustang." พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศแห่งชาติสหรัฐฯ 2 เมษายน 2011. สืบค้นเมื่อ: 17 มกราคม 2012.
  2. Knaack 1978.
  3. Kinzey 1996, p. 5.
  4. Kinzey 1996, p. 56.
  5. Kinzey 1997, pp. 10–13.
  6. Gunston 1984, p. 58.

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link FA