ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอฟ-35 ไลท์นิ่ง 2"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เปลี่ยนทางไม่ถูกต้อง
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ข้อความทั้งหมดด้วย '#redirect ล็อกฮีด มาร์ติน เอฟ-35 ไลท์นิง 2'
 
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
#redirect [[ล็อกฮีด มาร์ติน เอฟ-35 ไลท์นิง 2]]
#redirect [[ล็อกฮีด มาร์ติน เอฟ-35 ไลท์นิง 2]]
{{กล่องข้อมูล อากาศยาน
|ชื่อ = เอฟ-35 ไลท์นิ่ง 2
|บทบาท = [[เครื่องบินขับไล่หลากบทบาท|เครื่องบินขับไล่]][[อากาศยานล่องหน|ล่องหน]]หลากบทบาท
|ภาพ = [[ไฟล์:F35A Prototyp AA1 2.jpg|300px]]
|บริษัทผู้ผลิต = [[ล็อกฮีด มาร์ติน]]<br />[[นอร์ทธรอป กรัมแมน]]<br />[[เบ ซิสเทมส์]]
|บินครั้งแรก = [[15 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2549]]<ref>[https://www.teamjsf.com/jsf/data.nsf/7074259f3965fd0985256f43007b0964/7f70d66a0aaef181852573540049ead4?OpenDocument F-35 First Flight]. ''TeamJSF.com''. Retrieved: 10 October 2007.</ref>
|เริ่มใช้ = พ.ศ. 2555 <small>(ของนาวิกโยธิน<ref>[http://www.defenselink.mil//news/newsarticle.aspx?id=55684 Gates Touts F-35 As Heart of Future Tactical Combat Aviation]</ref>)</small> พ.ศ. 2559 (ตามที่กำหนดไว้)<ref>[http://www.cqpolitics.com/wmspage.cfm?docID=news-000003175295 "Report: F-35 Work Falls Behind Two More Years."] CQ Politics, 23 July 2009. </ref>
|สถานะ = อยู่ภายใต้การพัฒนา
|ช่วงการผลิต = พ.ศ. 2546-ปัจจุบัน
|จำนวนที่ผลิต = 13 ลำ เป็นเครื่องบินทดสอบ;<ref>"Lockheed Martin F-35 Lightning II". ''Jane's All the World's Aircraft''. (online version, 21 January 2008).</ref><ref>[http://www.irconnect.com/noc/press/pages/news_releases.html?d=139220 "Northrop Grumman Begins Assembling First F-35 Production Jet"]. Northrop Grumman, 1 April 2008. Accessed on 19 April 2008. (มีไม่เกิน 8 ลำที่สร้างเสร็จก่อนวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2551)</ref><br />15 ลำ เป็นเครื่องบินที่สั่งสร้างก่อนการผลิต
|มูลค่า= เอฟ-35เอ: $122 ล้าน </br>เอฟ-35บี: $150 ล้าน </br>เอฟ-35ซี: $139.5 ล้าน </br> (หมายเหตุ: ไม่รวมค่าพัฒนา)
|พัฒนามาจาก = [[ล็อกฮีด มาร์ติน เอ็กซ์-35]]
}}

'''เอฟ-35 ไลท์นิ่ง 2''' ({{lang-en|''F-35 Lightning II''}}) เป็นเครื่องบินขับไล่รุ่นที่ 5 หนึ่งที่นั่ง หนึ่งเครื่องยนต์ โดยเป็น[[เครื่องบินขับไล่หลากบทบาท]]แบบ[[อากาศยานล่องหน|ล่องหน]] ซึ่งสามารถให้[[การสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิด]] [[การทิ้งระเบิดทางยุทธวิธี]] และการป้องกันทางอากาศ<ref name="LHMC" /> เอฟ-35 มีทั้งหมด 3 รุ่น คือ แบบขึ้น-ลงปกติ แบบขึ้น-ลงแนวในดิ่ง และแบบที่ใช้บนเรือบรรทุกเครื่องบิน

เอฟ-35 เป็นผู้สืบทอดจาก[[ล็อกฮีด มาร์ติน เอ็กซ์-35|เอ็กซ์-35]] เป็นผลิตผลจากโครงการเครื่องบินขับไล่โจมตีร่วมหรือเจเอสเอฟ (''Joint Strike Fighter, JSF'') การพัฒนาของมันนั้นได้รับทุนหลักจาก[[สหรัฐอเมริกา]] โดยมี[[สหราชอาณาจักร]]และประเทศอื่นๆ ให้ทุนเพิ่มเติม<ref name="glob_sec_F-35">[http://www.globalsecurity.org/military/systems/aircraft/f-35-int.htm F-35 Joint Strike Fighter (JSF) Lightning II&nbsp;– International Partners], GlobalSecurity.org</ref> มันถูกออกแบบและสร้างโดยทีมอุตสาหกรรมการบินที่นำโดย[[ล็อกฮีด มาร์ติน]] โดยมี[[นอร์ทธรอป กรัมแมน]]และ[[บีเออี ซิสเต็มส์]]เป็นหุ้นส่วนหลัก<ref name="glob_sec_F-35"/> เครื่องบินสาธิตบินในปีพ.ศ. 2543<ref>[http://www.jsf.mil/history/his_jsf.htm "JSF program history."] ''JSF.mil''.</ref> มันทำการบินครั้งแรกในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2549<ref>[http://abcnews.go.com/Politics/wireStory?id=2731034 "F-35 Test Flight Deemed a Success."] ''ABC News'', 15 December 2006.</ref>

== การพัฒนา ==
=== ความต้องการ ===
[[ไฟล์:F-35 Wind Tunnel Model.jpg|thumb|right|การทดสอบแบบจำลองของเอฟ-35 ในอุโมงค์ลมที่ศูนย์พัฒนาวิศวกรรมอาร์โนลด์ในสหรัฐ]]
โครงการเจเอสเอฟถูกสร้างเพื่อหาสิ่งทดแทน[[เอฟ-16]] [[เอ-10]] [[เอฟ/เอ-18]] (รวมทั้งเอฟ/เอ-18อี/เอฟ) และ[[เอวี-8 แฮร์ริเออร์ 2|เอวี-8บี]] เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการพัฒนาและการผลิต จึงมีการออกแบบไว้ด้วยกันสามแบบโดยจะใช้ชิ้นส่วนเหมือนกัน 80% คือ
* เอฟ-35เอ แบบขึ้น-ลงปกติ
* เอฟ-35บี แบบขึ้น-ลงในแนวดิ่ง
* เอฟ-35ซี แบบใช้บนเรือบรรทุกเครื่องบิน

เอฟ-35 มีแนวโน้มที่จะเป็นเครื่องบินโจมตีแบบแรกๆ ที่อยู่จนถึงปีพ.ศ. 2583 โดยมีความสามารถในการต่อสู้ทางอากาศทั้งไกลและใกล้เป็นรองแค่เพียง[[เอฟ-22 แร็พเตอร์]]<ref name="LHMC">[http://www.lockheedmartin.com/products/f35/f-35-capabilities.html "F-35 Capabilities."] ''[[Lockheed Martin]]'', 2009. Retrieved: 9 February 2009.</ref> เอฟ-35 จะต้องมีประสิทธิภาพมากกว่าถึง 4 เท่าของเครื่องบินขับไล่ในปัจจุบัน 8 เท่าในการจัดการกับเป้าหมายภาคพื้นดิน และ 3 เท่าของภารกิจสอดแนมและการกดดันการป้องกันทางอากาศ&nbsp;– ในขณะเดียวกันก็ต้องมีพิสัยที่ไกลกว่าและต้องการการสนับสนุนน้อยกว่า<ref>[http://www.globalsecurity.org/military/systems/aircraft/f-35.htm "F-35 Joint Strike Fighter (JSF) Lightning II."] ''GlobalSecurity.org''.</ref>

ด้วยน้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุดที่ 27,000 กิโลกรัม เอฟ-35 ถูกมองว่ามีน้ำหนักมากกว่าเครื่องบินขับไล่ลำใดๆ ที่มันเข้าแทนที่ น้ำหนักรวมและน้ำหนักเปล่าของมันนั้นใกล้เคียงกับ[[เอฟ-105 ธันเดอร์ชิฟ]] ซึ่งเป็นเครื่องบินขับไล่ที่ใหญ่ที่สุดในยุคสงครามเวียดนาม<ref>{{cite web|url=http://www.ausairpower.net/jsf-a6k-2002.pdf |title=Hedging the Bet&nbsp;– JSF for the RAAF |format=PDF |date= |accessdate=2009-08-15}}</ref>

== การออกแบบ ==
[[ไฟล์:F-35A - Inauguration Towing.jpg|right|thumb|เอฟ-35เอที่ถูกจัดแสดงในพิธีเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2549]]

เอฟ-35 ดูเหมือนว่าจะมีขนาดเล็กกว่า สะดวกกว่า[[เอฟ-22 แร็พเตอร์]]ที่มีสองเครื่องยนต์ การออกแบบท่อไอเสียนั้นได้รับแรงบันดาลใจมาจาก[[เจเนรับ ไดนามิกส์]] โมเดล 200 ซึ่งเป็นอากาศยานขึ้น-ลงในแนวดิ่งในปีพ.ศ. 2515<ref>"Vertiflight". ''Journal of the American Helicopter Society''. January 2004.</ref> เพื่อทำให้การพัฒนาเอฟ-35บีรุ่นพิเศษที่เป็นอากาศยานขึ้น-ลงในแนวดิ่ง ทาง[[ล็อกฮีด]]จึงปรึกษากับ[[สำนักงานออกแบบยาโกเลฟ]] โดยการซื้อแบบมาจากการพัฒนาของ[[ยาโกเลฟ ยัค-141]]<ref>Hayles, John. [http://www.aeroflight.co.uk/types/russia/yakovlev/yak-41/yak-41.htm "Yakovlev Yak-41 'Freestyle'".] ''Aeroflight'', 28 March 2005. Retrieved: 3 July 2008.</ref><ref>[http://www.janes.com/defence/air_forces/news/jawa/jawa010103_1_n.shtml "Joint Strike Fighter (JSF)."], ''Jane's''. Retrieved: 3 July 2008.</ref>

การพัฒนาที่เหนือกว่าเครื่องบินขับไล่ยุคปัจจุบันได้แก่
* [[เทคโนโลยีการล่องหน]]
* ระบบอิเลคทรอนิกผสานและเซ็นเซอร์ซึ่งใช้ข้อมูลร่วมกัน ทั้งจากนอกและในเครื่องบิน เพื่อเพิ่มความระมัดระวังตัวให้กับนักบินและเพิ่มการระบุเป้าหมาย การยิงอาวุธ และส่งข้อมูลให้กับศูนย์บัญชาการได้รวดเร็วขึ้น
* เครือข่ายข้อมูลความเร็วสูงไออีอีอี 1394 บิต<ref name="avweek_20070205">Philips, E. H. "The Electric Jet." ''[[Aviation Week & Space Technology]]'', 5 February 2007.</ref> และช่องทางไฟเบอร์<ref name="avionics_20070601">Parker, Ian. [http://www.aviationtoday.com/av/categories/military/11667.html "Reducing Risk on the Joint Strike Fighter."] ''Avionics Magazine'', Access Intelligence, LLC, 1 June 2007. Retrieved: 8 June 2007.</ref>

เครื่องบินขับไล่รุ่นใหม่ๆ ไม่สามารถติดตั้งถังเชื้อเพลิงขนาดใหญ่ไปได้ทุกครั้ง แต่สำหรับเอฟ-35 มันจำเป็นต้องใช้เชื้อเพลิงอย่างมาก

ไม่เหมือนกับเอฟ-22 และเอฟ/เอ-18 ตรงที่เอฟ-35 นั้นไม่มีปีกเสริมส่วนหน้า แต่มันใช้ส่วนปีกเสริมที่เหมือนกับ[[เอสอาร์-71 แบล็คเบิร์ด]]แทน<ref>[http://www.f-16.net/news_article3837.html F-35 Lightning II status and future prospects]</ref>

=== ห้องนักบิน ===
เอฟ-35 มีจุดเด่นที่จอแสดงผลที่กว้างมากโดยมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 28x8 นิ้ว<ref>[http://www.vectorsite.net/avf35.html The Lockheed Martin F-35 Joint Strike Fighter (JSF)], vectorsite.net</ref> ระบบจดจำเสียงของห้องนักบินมีไว้เพื่อเพิ่มความสามารถในการใช้งานเครื่องบินของนักบินได้มากกว่าเครื่องบินแบบทั่วไป เอฟ-35 จะเป็นเครื่องบินปีกนิ่งลำแรกของสหรัฐที่ใช้ระบบนี้ แม้ว่าระบบที่ใกล้เคียงกันจะมีอยู่ในเอวี-8บีและ[[เอฟ-16 วิสต้า]]<ref name="voice">[http://www.af.mil/news/story.asp?id=123071861 "Researchers fine-tune F-35 pilot-aircraft speech system."] US Air Force, 10 October 2007.</ref> ในการพัฒนาระบบจะทำโดยบริษัทอดาเซล ซิสเทมส์<ref>{{cite web|url=http://www.technologynewsdaily.com/node/8242 |title=Technology News |publisher=Technologynewsdaily.com |date= |accessdate=2009-08-15}}</ref> นักบินจะบินโดยใช้คันบังคับทางขวามือและซ้ายมีจะเป็นคันเร่ง

หมวดติดจอแสดงผลจะถูกใช้กับเอฟ-35 ทุกรุ่น หมวกที่มีกล้องมองตามนั้นได้ถูกนำไปใช้กับเอฟ-15 เอฟ-16 และเอฟ/เอ-18 เรียบร้อยแล้ว<ref>{{cite web|url=http://www.boeing.com/defense-space/military/jhmcs/index.html |title=Joint Helmet Mounted Cueing System |publisher=Boeing.com |date= |accessdate=2009-08-15}}</ref> ในขณะที่เครื่องบินขับไล่บางลำมีหมวกติดจอแสดงผลพร้อมกับหน้าจอฮัด สิ่งนี้จะเป็นครั้งแรกในหลายทศวรรษที่เครื่องบินขับไล่แนวหน้าจะไม่มีหน้าจอฮัด<ref name=hdms>[http://www.rockwellcollins.com/news/page8813.html "VSI's Helmet Mounted Display System flies on Joint Strike Fighter."] Rockwell Collins, 2007. Retrieved: 8 June 2008.</ref>

[[เก้าอี้ดีดตัว]]ของ[[มาร์ติน-เบเกอร์]]รุ่นยูเอส16อีถูกนำมาใช้กับเอฟ-35 ทุกรุ่น<ref>[http://www.jsf.org.uk/JSF-UK-Industry-Team/Martin-Baker.aspx Martin-Baker], Jsf.org.uk</ref> ที่นั่งยูเอส16อีนั้นมีความสมดุลในด้านการทำงาน รวมทั้งความปลอดภัยที่คำนึงถึงขีดจำกัดของสภาพแวดล้อม น้ำหนักของนักบิน และขนาดตัวของนักบิน มันใช้ระบบคันดีดคู่ซึ่งจะอยู่ที่ส่วนท้าย<ref>[http://www.martin-baker.com/getdoc/848c206d-6dc7-4afc-b8f3-ec2f09cd75a3/US16E---JSF.aspx "Martin-Baker, UK."] ''Martin-baker.com''.</ref>

=== เซ็นเซอร์ ===
[[ไฟล์:F-35 EOTS.jpeg|thumb|ระบบจับเป้าอิเลคโทร-ออพติคอลใต้ส่วนจมูกของเอฟ-35]]

เอฟ-35 มีชุดเซ็นเซอร์ที่ทรงพลังและก้าวหน้า<ref> [http://www.lockheedmartin.com/products/f35/f-35-capabilities.html "F-35 Capabilities"]. Lockheed Martin.</ref> เซ็นเซอร์หลักคือเรดาร์[[เอพีจี-81|เอเอ็น/เอพีจี-81]] ซึ่งออกแบบโดย[[นอร์ทธรอป กรัมแมน อิเลคทรอก ซิสเทมส์]]<ref>[http://www.es.northropgrumman.com/ASD/combat/APG-81.html APG-81 (F-35 Lightning II)]. Northrop Grumman Electronic Systems. Retrieved: 4 August 2007.</ref> มันจะทำงานร่วมกับระบบจับเป้าอิเลคโทร-ออพติคอลหรืออีโอทีเอส (''Electro-Optical Targeting System, EOTS'') ที่ติดตั้งอยู่ใต้ส่วนจมูกของเครื่องบินซึ่งออกแบบโดยล็อกฮีด มาร์ติน<ref>[http://www.lockheedmartin.com/products/JointStrikeFighterElectroOpticalTar/ Lockheed Martin Missiles and Fire Control: Joint Strike Fighter Electro-Optical Targeting System]. Lockheed Martin. Retrieved: 11 April 2008.</ref> สิ่งนี้ทำให้มันมีความสามารถเหมือนกับ[[ล็อกฮีด มาร์ติน สไนเปอร์ เอ็กซ์อาร์]]โดยไม่เป็นการเผยตัวของเครื่องบิน<ref>{{cite web|url=http://www.aviationweek.com/aw/generic/story_generic.jsp?channel=awst&id=news/10044top.xml |title=Sniper Targeting Pod Attacks From Long Standoff Ranges |publisher=Aviationweek.com |date= |accessdate=2009-08-15}}</ref> รุ่นอื่นๆ ของอีโอทีเอสยังถูกใช้โดย[[เจเนรัล อะตอมมิกส์ อเวนเจอร์]]

เซ็นเซอร์เพิ่มเติมอีกหกอย่างถูกติดตั้งทั่วเครื่องบินเพื่อเป็นระบบช่วยเอเอ็น/เอเอคิว-37 ของนอร์ทธรอป กรัมแมน ซึ่งทำหน้าที่คล้ายระบบเตือนขีปนาวุธ มันจะรายงานตำแหน่ง ตรวจจับ และติดตามขีปนาวุธหรืออากาศยานรอบๆ เอฟ-35 และเข้ามาแทนที่กล้องมองกลางคืนแบบเดิม ทิ่งเหล่านี้จะทำงานพร้อมๆ กัน ในทุกทิศทาง และทุกเวลา ระบบสงครามอิเลคทรอนิกเอเอ็น/เอเอสคิว-239 ของเอฟ-35 ถูกออกแบบโดยเบและนอร์ทธรอป กรัมแมน<ref>[http://www.istockanalyst.com/article/viewnewspaged/articleid/3442641/pageid/2 JSF EW Suite]</ref> การสื่อสาร การนำร่อง และการะระบุถูกออกแบบโดยนอร์ทธรอป กรัมแมน เอฟ-35 จะเป็นเครื่องบินขับไล่แบบแรกที่มีการผสมผสานของเซ็นเซอร์ซึ่งมีทั้งคลื่นความถี่วิทยุและอินฟราเรดติดตามสำหรับการตรวจจับเป้าหมายอย่างต่อเนื่องและการระบุในทุกทิศทาง ซึ่งจะแบ่งข้อมูลกันโดยไม่เผยตัวตนขณะล่องหน<ref>{{cite web|url=http://www.military.com/features/0,15240,186349,00.html |title=F-35 Air Combat Skills Analyzed |publisher=Military.com |date= |accessdate=2009-08-15}}</ref>

=== เครื่องยนต์ ===
เครื่องยนต์หลักของเอฟ-35 คือแพรทท์ แอนด์ วิทนีย์ เอฟ135 ส่วนเครื่องยนต์เจเนรัล อิเลคทริก/โรลส์-รอยซ์ เอฟ136 นั้นกำลังอยู่ภายใต้การพัฒนาเพื่อใช้เป็นเครื่องยนต์ทางเลือก<ref>Trimble, Stephen. [http://www.flightglobal.com/articles/2009/06/11/327771/rolls-royce-f136-survival-is-key-for-major-f-35-engine.html "Rolls-Royce: F136 survival is key for major F-35 engine upgrade"]. ''Flight International'', 11 June 2009.</ref> สำหรับเครื่องบินที่เป็นแบบขึ้น-ลงในแนวดิ่งนั้นจะใช่ระบบยกของโรลส์-รอยซ์ ระบบดังกล่าวคล้ายคลีงกับ[[ยาโกเลฟ ยัค-141|ยัค-141]] ของรัสเซียและ[[อีดับบลิวอาร์ วีเจ 101|วีเจ 101ดี/อี]]ของเยอรมนี<ref>{{cite web|url=http://www.vstol.org/GermanVSTOLFighters.pdf |title=Swivel nozzle VJ101D and VJ101E |publisher=Vstol.org |date=2009-06-20 |accessdate=2009-08-15}}</ref> ดังนั้นการออกแบบเครื่องบินขึ้น-ลงในแนวดิ่งรุ่นต่อๆ มา อย่าง[[แฮร์ริเออร์ จัมพ์ เจ็ท]] ใช้ใบพัดของเครื่องยนต์โรลส์-รอยซ์ เพกาซัส เพราะพบว่ามันไม่ง่ายนักที่จะออกแบบใบพัดอันเดียวที่ใหญ่พอจะผลักผ่านลมความเร็วต่ำเพื่อยกตัวขึ้นและใขณะเดียวกันต้องใหญ่พอที่จะทำความเร็วเหนือเสียง{{Citation needed|date=August 2009}}

ลิฟท์ซิสเทมประกอบด้วยใบพัดยก ชาฟท์ขับเคลื่อน แท่นหมุนสองแท่น และ 3บีเอสเอ็ม (''3 Bearing Swivel Module, 3BSM'').<ref>[http://www.rolls-royce.com/defence/products/combat_jets/rr_liftsystem.jsp LiftSystem]. Rolls-Royce.</ref> 3บีเอสเอ็มเป็นท่อไอเสียแบบขยับได้ซึ่งทำให้ท่อไอเสียของเครื่องยนต์หลักสามารถสะท้อนลงไปที่หางของเครื่องบิน ใบพัดยกที่อยู่ใกล้กับส่วนหน้าของเครื่องบินทำให้เกิดแรงขับที่สมดุล ใบพัดยกจะทำงานโดยเครื่องยนต์แรงดันต่ำผ่านทางชาฟท์ัขับเคลื่อนและกระปุกเกียร์ การควบคุมการหมุนในตอนที่บินช้าๆ นั้นจะต้องสลับอากาศแรงดันสูงจากเครื่องยนต์แรงดันต่ำผ่านทางปีกที่มีท่อไอเสียแบบขยับติดตั้ง ซึ่งเรียกว่าแท่นหมุน (''Roll Posts'')<ref>{{cite web|url=http://www.ingenia.org.uk/ingenia/issues/issue20/hutchinson.pdf |title=Going vertical. Developing a STOVL system. |format=PDF |date= |accessdate=2009-08-15}}</ref>

ใบพัดยกของเอฟ-35บีต้องพบกับผลกระทบจาก flow multiplier เช่นเดียวกับแฮร์ริเออร์ เหมือนกับเครื่องยนต์ยกคือโครงสร้างที่เพิ่มเข้าไปนี้เป็นการเพิ่มน้ำหนักขณะทำการบินตามแนวนอน แต่สร้างความสามารถในการยกตัวมากขึ้น ท่อไอเสียเย็นของใบพัดยังลดความร้อน ลมความเร็วสูงที่พุ่งลงด้านล่างขณะขึ้นในแนวดิ่ง (ซึ่งสามารถสร้างความเสียหายให้กับลานวิ่งและดาดฟ้าเรือ) แม้ว่าจะซับซ้อนและเสี่ยง ระบบยกก็ทำงานได้ในระดับที่ผ่านการทดสอบ

ปัจจุบันเครื่องยนต์เอฟ136 นั้นใช้ทุนมากในส่วนอื่นของโครงการ การลดจำนวนของอากาศยานที่จะผลิต และเพิ่มมูลค่าของพวกมัน<ref>[http://www.aviationweek.com/aw/generic/story_channel.jsp?channel=defense&id=news/SECOND052909.xml Second Engine Could Cut F-35 Production]</ref> อย่างไรก็ตามทีมสร้างเอฟ136 อ้างว่าเครื่องยนต์ของพวกเขามีค่าแตกต่างของอุณหภูมิมากกว่า ซึ่งพิสูจน์ว่าเป็นปัญหากับการใช้ในแนวดิ่งในสภาพที่ร้อนและสูง<ref>[http://www.rolls-royce.com/defence/news/2009/fighter_engine_study_netherlands.jsp GE Rolls-Royce Fighter Engine Team completes study for Netherlands]</ref>

=== อาวุธ ===
[[ไฟล์:F-35 weapons bay.jpeg|thumb|right|ช่องเก็บอาวุธของเอฟ-35]]

เอฟ-35 มีปืนกลอากาศ[[จีเอยู-12 อีควอไลเซอร์|จีเอยู-22/เอ]]สี่ลำกล้องขนาด 25 ม.ม.<ref>[http://www.gdatp.com/products/Gun_Systems/JSF/JSF.htm F-35 gun system], General Dynamics Armament and Technical Products.</ref> ในเอฟ-35เอปืนใหญ่อากาศจะติดตั้งอยู่ภายในพร้อมกระสุน 180 นัด ในเอฟ-35บีและซีจะมีกระสุนในกระเปาะภายในเพิ่มอีก 220 นัด<ref name="F-35_Stats"/><ref>[http://www.globalsecurity.org/military/systems/aircraft/f-35-specs.htm "F-35 specifications."] ''GlobalSecurity.org''.</ref> แท่นปืนสำหรับบีและซีนั้นจะเป็นแบบเก็บเพื่ออำพราง แท่นนี้จะสามารถถูกใช้สำหรับอุปกรณ์ที่แตกต่างออกไปในอนาคต<ref>[http://www.f-16.net/news_article3837.html F-35 Lightning II status and future prospects]</ref>

ภายในจะมีขีปนาวุธอากาศสู่อากาศสองลูกและอาวุธอากาศสู่อากาศหรืออากาศสู่พื้นสองชิ้น (ระเบิดขนาด 2,000 ปอนด์ สองลูกในแบบเอและซี ระเบิดขนาด 1,000 ปอนด์สองลูกในแบบบี)<ref>[http://es.is.itt.com/JSF Suite.htm JSF Suite: BRU-67, BRU-68 Bomb Rack Units and LAU-147 Launcher]{{ลิงก์เสีย|date=สิงหาคม 2552}}</ref>สามารถนำมาใช้ได้เช่นกัน<ref name="F-35_prog_brief_Sept2006">[http://www.jsf.mil/downloads/documents/AFA%20Conf%20-%20JSF%20Program%20Brief%20-%2026%20Sept%2006.pdf "F-35 Program Brief."] ''USAF'', 26 September 2006.</ref> นั่นอาจเป็น[[เอไอเอ็ม-120 แอมแรม]] [[เอไอเอ็ม-132 แอสแรม]] [[เจแดม]] ระเบิดเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดเล็กโดยใช้มากสุดได้อย่างละ 4 ในแต่ละช่องเก็บอาวุธ [[ขีปนาวุธบริมสโตน]]และชุดระเบิดพวง<ref name="F-35_prog_brief_Sept2006"/> ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ[[เอ็มบีดีเอ เมเทโอร์]]กำลังถูกนำมาใช้เพื่อเติมเต็มช่องเก็บอาวุธ สหราชอาณาจักรได้วางแผนเอาไว้ว่าจะใส่เอไอเอ็ม-132 แอมแรมเข้าไปสี่ลูก แต่ก็เปลี่ยนเป็นติดตั้งทั้งด้านในและด้านนอกอย่างละสองแทน<ref>[http://www.f-16.net/news_article2762.html "F-35 Lightning II News: ASRAAM Config Change For F-35."] ''f-16.net'', 4 March 2008.</ref> ยังมีการกล่าวอีกด้วยว่าช่องเก็บอาวุธจะถูกดัดแปลงเพื่อให้รับแอมแรมได้ 6 ลูก<ref>{{cite web|url=http://www.aviationweek.com/aw/blogs/defense/index.jsp?plckController=Blog&plckScript=blogScript&plckElementId=blogDest&plckBlogPage=BlogViewPost&plckPostId=Blog%3a27ec4a53-dcc8-42d0-bd3a-01329aef79a7Post%3a4f04259d-8fca-4e42-8e17-44f5dca7edf4 |title=Amraams |publisher=Aviationweek.com |date=2007-11-08 |accessdate=2009-08-15}}</ref>

เมื่อเรดาร์สามารถตรวจจับสิ่งใดก็ตามที่ยื่นออกจากเครื่องบิน ขีปนาวุธ ระเบิด และถังเชื้อเพลิงมากมายจึงสามารถติดบนปีกหรือปลายปีกได้ สองตำแหน่งที่ปลายปีกสามารถติดตั้ง[[เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์#เอไอเอ็ม-9เอ็กซ์|เอไอเอ็ม-9เอ็กซ์]]ได้เท่านั้น จุดอื่นๆ สามารถติดตั้งเอไอเอ็ม-120 แอมแรม [[สตอร์ม ชาโดว์]] [[เอจีเอ็ม-158 แจสม์]] ระเบิดนำวิถี ถังเชื้อเพลิงขนาด 480 และ 600 แกลลอน<ref>Keijsper 2007, p. 239.</ref> ช่องเก็บอาวุธภายในสามารถเก็บเอไอเอ็ม-120 แปดลูกและเอไอเอ็ม-9 สองลูก<ref name="F-35_prog_brief_Sept2006"/><ref name="JSFrange">Digger, Davis. [http://www.dtic.mil/ndia/2007targets/Day1/Davisday1.pdf "JSF Range & Airspace Requirements."] ''Headquarters Air Combat Command'', Defense Technical Information Center, 30 October 2007. Retrieved: 3 December 2008.</ref> ด้วยความสามารถในการบรรทุกเอฟ-35 สามารถขนอาวุธได้มากกว่าเครื่องบินขับไล่แบบอื่นๆ รวมทั้ง[[เอฟ-22 แร็พเตอร์]]<ref>{{cite web|url=http://article.nationalreview.com/?q=MzM3M2U5NDBjYjE0ODI1ZjFlYjYzZjFlZWZjZjhiMmI= |title=National Review |publisher=National Review |date=2007-01-15 |accessdate=2009-08-15}}</ref> เลเซอร์ของแข็งกำลังถูกพัฒนาเพื่อเป็นอาวุธทางเลือกสำหรับเอฟ-35 ในปีพ.ศ. 2545<ref>Fulghum, David A. "[http://web.archive.org/web/20040626050316/http://www.aviationnow.com/content/publication/awst/20020708/aw32.htm Lasers being developed for F-35 and AC-130]." ''Aviation Week and Space Technology'', (8 July 2002). Access date: 8 February 2006.</ref><ref>Morris, Jefferson. "[http://web.archive.org/web/20040604124353/http://www.aviationnow.com/avnow/news/channel_military.jsp?view=story&id=news/masd0926.xml Keeping cool a big challenge for JSF laser, Lockheed Martin says]." ''Aerospace Daily'', 26 September 2002. Access date: 3 June 2007.</ref><ref>Fulghum, David A. "[http://web.archive.org/web/20040613094437/http://www.aviationnow.com/content/publication/awst/20020722/aw173.htm Lasers, HPM weapons near operational status]." ''Aviation Week and Space Technology'', 22 July 2002. Access date: 8 February 2006.</ref>

=== ระบบศูนย์เล็งติดหมวก ===
เอฟ-35 ใช้การต่อสู้แบบใหม่ทั้งหมด แทนที่จะใช้การขับเคลื่อน ปีกเสริม หรือซูเปอร์ครูซเพื่อไล่ตามเป้าหมาย เอฟ-35 กลับใช้การผสมของคลื่นความถี่วิทยุกับอินฟราเรดเพื่อติดตามอากาศยานทุกลำที่อยู่ใกล้ๆ อย่างต่อเนื่อง หมวกติดจอแสดงผลของนักบินจะแสดง เลือกเป้าหมาย และยิงอาวุธเพื่อทำลายเป้าหมาย เพราะสิ่งนี้เองเอฟ-35 จึงไม่ต้องมีจอฮัดที่เครื่องบินขับไล่รุ่นก่อนหน้ามี เพราะมันไม่จำเป็นที่จะต้องหันเครื่องบินไปทางเป้าหมายอีกต่อไป<ref>{{cite web|url=http://www.jsf.mil/downloads/documents/AFA%20Conf%20-%20JSF%20Program%20Brief%20-%2026%20Sept%2006.pdf |title=F-35 Lightning II Program |format=PDF |date= |accessdate=2009-08-15}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.youtube.com/user/F35JSFVideos#play/uploads/7/CwvnhFgzIKI |title=F 35 Distributed Aperture System EO DAS |publisher=Youtube.com |date= |accessdate=2009-08-15}}</ref>

=== ความกังวลเกี่ยวกับการทำงาน ===
การทำงานของเอฟ-35 ถูกแสดงให้เห็นจากรายงานของการจำลองซึ่งเครื่องบินซุคฮอยของรัสเซียจำนวนมากเอาชนะเอฟ-35 จำนวนหนึ่งได้ด้วยการไม่เติมเชื้อเพลิงทางอากาศ<ref name="F-35 under attack">Trimble, Stephen. [http://www.flightglobal.com/articles/2008/10/15/317309/us-defence-policy-and-f-35-under-attack.html "US defence policy - and F-35 - under attack."] ''Flight International'', Reed Business Information, 15 October 2008.</ref> จากผลที่ได้รัฐมนตรีกระทรวงกลาโหมของออสเตรเลียโจเอล ฟิทซ์กิบบอนได้ร้องขอผลรายงานอย่างเป็นทางการจากคอมพิวเตอร์จำลองการบิน มันกล่าวว่ารายงานจากการจำลองการบินนั้นไม่แม่นยำ และไม่สามารถเทียบได้กับการทำงานของเอฟ-35 ต่อเครื่องบินลำอื่น<ref>[http://www.abc.net.au/news/stories/2008/09/25/2373632.htm "Fighter criticism 'unfair' and 'misrepresented'."] ''ABC News'', 25 September 2008. Retrieved: 30 October 2008.</ref>

คำวิจารณ์ต่อเอฟ-35 ได้ถูกทำลายโดยเพนตากอนและบริษัทผู้ผลิต<ref name="F-35 under attack"/><ref name="straighten">[http://www.lockheedmartin.com/news/press_releases/2008/0919ae_f-35settingrecordstraight.html "Setting the Record Straight On F-35".] Lockheed Martin, 19 September 2008.</ref> กองทัพอากาศสหรัฐได้จัดให้มีการประเมินการทำงานในอากาศของเอฟ-35 เมื่อต้องต่อสู้กับเครื่องบินขับไล่รุ่นที่ 4 ที่มีอยู่ในปัจจุบัน และได้พบว่าเอฟ-35 มีประสิทธิภาพมากกว่าอย่างน้อย 4 เท่า นายพลชาร์ลส อาร์ เดวิส นายทหารที่ดูแลโครงการเอฟ-35 ได้กล่าวว่าเอฟมีอัตราการสังหารที่เหนือกว่าข้าศึกทั้งในปัจจุบันและอนาคต รวมทั้งซุคฮอย<ref name="straighten"/> รัสเซีย อินเดีย จีน และประเทศอื่นๆ มากมายล้วนใช้[[ซุคฮอย ซู-27|ซุคฮอย ซู-27/30]]

=== ความรับผิดชอบด้านการผลิต ===
[[ล็อกฮีด มาร์ติน แอโรนอติกส์]]เป็นผู้ทำสัญญารายใหญ่และสร้างการทำงานของเครื่องบินจนเสร็จ ทั้งระบบทำงานทั้งหมด ระบบภารกิจ ลำตัวส่วนหน้า ปีก และระบบควบคุมการบิน [[นอร์ทธรอป กรัมแมน]]สร้างเรดาร์เออีเอสเอ (''Active Electronically Scanned Array, AESA'') ระบบดีเอเอส (''Infrared Distributed Aperture System, DAS'') การสื่อสาร การนำร่อง การระบุ ลำตัวส่วนกลาง ช่องเก็บอาวุธ และอุปกรณ์ยึดจับ [[เบ ซิสเทมส์]]สร้างลำตัวส่วนหลัง หาง ระบบช่วยเหลือลูกเรือ ระบบ[[สงครามอิเลคทรอนิก]] ระบบเชื้อเพลิง และซอฟต์แวร์ควบคุมการบิน ทาง[[เอลีเนีย แอโรนอติกา|เอลีเนีย]]จะสร้างขั้นตอนสุดท้ายให้กับอิตาลี และเครื่องบินของยุโรปทั้งหมดยกเว้นตุรกีกับสหราชอาณาจักร<ref>{{cite web|url=http://www.aviationnow.com/avnow/search/autosuggest.jsp?docid=7783&url=http%3A%2F%2Fwww.aviationnow.com%2Favnow%2Fnews%2Fchannel_defense_story.jsp%3Fview%3Dstory%26id%3Dnews%2FJSFM06196.xml |title=Italy Wins JSF Final Assembly; U.K. Presses Maintenance, Support |publisher=Aviationnow.com |date= |accessdate=2009-08-15}}</ref>

ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2552 ได้มีการฟ้องโดยอดีตลูกจ้างซอฟต์แวร์เอฟ-35 ต่อล็อกฮีด มาร์ตินในเรื่องความปลอดภัยและคุณภาพของซอฟต์แวร์ที่ถูกปิดบัง โดยกล่าวว่าซอฟต์แวร์นั้นไม่ปลอดภัยเพราะมันไม่ได้มาตรฐาน<ref>[http://www.flightglobal.com/articles/2009/07/17/329819/former-f-35-worker-sues-lockheed-alleges-software-lapses.html "Former F-35 worker sues Lockheed, alleges software lapses"]. Flight International</ref>

=== เครื่องบินรบกวนสัญญาณรุ่นใหม่ ===
นาวิกโยธินสหรัฐกำลังพิจารณาที่จะแทนที่อีเอ-6บี โพรว์เลอร์ด้วยเอฟ-35 ซึ่งมีกระเปาะรบกวนสัญญาณอำพรางติดอยู่ด้วย<ref>{{cite web|url=http://www.aviationweek.com/aw/generic/story_generic.jsp?channel=defense&id=news/PARISJAM.xml&headline=Stealthy%20Jammer%20Considered%20for%20F-35 |title=Stealthy Jammer Considered for F-35 |publisher=Aviationweek.com |date=2009-06-15 |accessdate=2009-08-15}}</ref>

ในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2551 กองทัพเรือสหรัฐได้บอกความต้องการต่อนอร์ทธรอป กรัมแมนและกล่าวว่าการออกแบบจะต้องเป็นแบบเปิเ<ref>[http://www.navair.navy.mil/doing_business/open_solicitations/uploads/N00019-08-R-0101/NGJ_BAA_Industry_Day_-_Final.pdf NGJ BAA Industry_Day]</ref> กองทัพเรือได้เลือกบริษัทไว้ 4 บริษัทเพื่อทำการออกแบบเครื่องบินรบกวนสัญญาณรุ่นใหม่<ref>{{cite web|url=http://www.flightglobal.com/articles/2009/02/03/321962/us-navy-starts-next-generation-jammer-bidding-war.html |title=US Navy starts next-generation jammer bidding war |publisher=Flightglobal.com |date= |accessdate=2009-08-15}}</ref>

== ประวัติการใช้งาน ==
=== การทดสอบ ===
ในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 เอฟ-35เอลำแรกได้ปรากฏตัวที่ฟอร์ธเวิร์ธรัฐเท็กซัส เครื่องบินได้รับการทดสอบบนพื้นดินที่ฐานทดสอบทางอากาศของกองทัพเรือในปีพ.ศ. 2549 ในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ได้มีการทดสอบเครื่องยนต์เอฟ135 พร้อมการสันดาป โดยการทดสอบเสร็จสิ้นในวันที่ 18 ธันวาคมเมื่อมีการใช้สันดาปท้ายเต็มที่ เอฟ-35 ทำงานสมบูรณ์เป็นครั้งแรกเมื่อมันใช้เครื่องยนต์ของตนเองอย่างเต็มกำลัง<ref name="jsf_engine_run">[http://www.lockheedmartin.com/news/press_releases/2006/MIGHTYF35LIGHTNINGIIENGINEROARSLIFE.html "Mighty F-35 Lightning II Engine Roars to Life."] ''Lockheed Martin'', 20 September 2006.</ref> ในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เอฟ-35เอก็ทำการบินครั้งแรกสมบูรณ์

=== สื่อบันเทิง ===
F-35 ปรากฏตัวในภาพยนตร์เรื่องแรก และเรื่องเดียวในขณะนี้ คือภาพยนตร์เรื่อง Live For Free or Die Hard หรือ Die Hard 4.0 ในช่วงท้ายของเรื่อง ที่พระเอกต้องขับรถขนสารพิษ และถูกไล่ล่าโดยเครื่องบินรุ่นนี้

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์|เอฟ-35}}
* [http://www.jsf.mil/ Official JSF web site]
* [http://www.teamjsf.com/ Official Team JSF industry web site]
* [http://www.jsf.org.uk/ JSF UK Team]
* [http://www.raf.mod.uk/equipment/f35jointstrikefighter.cfm F-35 - Royal Air Force]
* [http://acquisition.navy.mil/programs/air/f_35_jsf US Navy Research, Development & Acquisition, F-35 page]
* [http://www.globalsecurity.org/military/systems/aircraft/f-35.htm F-35 - Global Security]
* [http://www.aerospaceweb.org/aircraft/fighter/f35/ F-35 profile] and [http://www.aerospaceweb.org/question/planes/q0163.shtml F-35 weapons carriage on Aerospaceweb.org]
* [http://www.f-35jsf.net/ F-35 Lightning II News on f-35jsf.net]
* [http://www.flightglobal.com/articles/2007/12/18/220382/pictures-lockheed-martin-rolls-out-vertical-lift-f-35b-jsf.html F-35B Roll out pictures]
* [http://www.armedforces-int.com/projects/combat-aircraft/f35-lighting-ii-joint-strike-fighter.asp F-35 Article - Armed Forces]
{{โครงทหาร}}

[[หมวดหมู่:อากาศยานบนเรือบรรทุกเครื่องบิน]]
[[หมวดหมู่:เครื่องบินล็อกฮีด มาร์ติน]]
[[หมวดหมู่:เครื่องบินล่องหน]]

{{Link FA|nl}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 01:50, 20 กรกฎาคม 2556