ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เรือบรรทุกอากาศยาน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
เรือบรรทุกอากาศยานถูกใช้อย่างหนักในสงครามโลกครั้งที่สองและมีแบบที่หลากหลายตามมา [[เรือบรรทุกอากาศยานคุ้มกัน]] เช่น [[ยูเอสเอส โบก (ซีวีอี-9)|ยูเอสเอส โบก]]ถูกสร้างขึ้นแต่ตอนสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้ว่าเรือบางลำจะถูกสร้างมาเพื่อจุดประสงค์นั้นๆ แต่เรือส่วนมากเป็นเรือดัดแปลงจากเรือสินค้าเพราะว่าเป็นเรือที่มีระยะหยุดเหมาะที่จะให้การสนับสนุนทางอากาศแก่ขบวนเรือและการรุกสะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบก [[เรือบรรทุกอากาศยานขนาดเบา]]ที่สร้างขึ้นโดยสหรัฐ เช่น [[ยูเอสเอส อินดีเพนเดนซ์ (ซีวีแอล-22)|ยูเอสเอส อินดีเพนเดนซ์]]เป็นเรือที่นำแนวคิดเรือบรรทุกอากาศยานคุ้มกันมาทำเป็นเรือที่ใหญ่ขึ้นและมีศักยภาพทางทหารมากขึ้น แม้ว่าเรือบรรทุกขนาดเบามักจะบรรทุกกองบินที่มีขนาดเท่ากับกองบินบนเรือบรรทุกคุ้มกัน แต่เรือบรทุกขนาดเบามีความได้เปรียบด้วยความเร็วที่เหนือกว่าเพราะเรือเหล่านี้ถูกดัดแปลงมาจากเรือครุยเซอร์
เรือบรรทุกอากาศยานถูกใช้อย่างหนักในสงครามโลกครั้งที่สองและมีแบบที่หลากหลายตามมา [[เรือบรรทุกอากาศยานคุ้มกัน]] เช่น [[ยูเอสเอส โบก (ซีวีอี-9)|ยูเอสเอส โบก]]ถูกสร้างขึ้นแต่ตอนสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้ว่าเรือบางลำจะถูกสร้างมาเพื่อจุดประสงค์นั้นๆ แต่เรือส่วนมากเป็นเรือดัดแปลงจากเรือสินค้าเพราะว่าเป็นเรือที่มีระยะหยุดเหมาะที่จะให้การสนับสนุนทางอากาศแก่ขบวนเรือและการรุกสะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบก [[เรือบรรทุกอากาศยานขนาดเบา]]ที่สร้างขึ้นโดยสหรัฐ เช่น [[ยูเอสเอส อินดีเพนเดนซ์ (ซีวีแอล-22)|ยูเอสเอส อินดีเพนเดนซ์]]เป็นเรือที่นำแนวคิดเรือบรรทุกอากาศยานคุ้มกันมาทำเป็นเรือที่ใหญ่ขึ้นและมีศักยภาพทางทหารมากขึ้น แม้ว่าเรือบรรทุกขนาดเบามักจะบรรทุกกองบินที่มีขนาดเท่ากับกองบินบนเรือบรรทุกคุ้มกัน แต่เรือบรทุกขนาดเบามีความได้เปรียบด้วยความเร็วที่เหนือกว่าเพราะเรือเหล่านี้ถูกดัดแปลงมาจากเรือครุยเซอร์


[[File:Minas Gerais DN-ST-90-01327.jpg|thumb|[[เรือบรรทุกอากาศยานมินาส เกเรียส]]ของบราซิลในปีพ.ศ. 2527]]
[[ไฟล์:Minas Gerais DN-ST-90-01327.jpg|thumb|[[เรือบรรทุกอากาศยานมินาส เกเรียส]]ของบราซิลในปีพ.ศ. 2527]]


ไฟสงครามทำให้เกิดการสร้างเรือและการดัดแปลงเรือที่ไม่ได้ทำตามแบบปกติ เรือแคม (''CAM'') เช่น เรือ[[เอสเอส ไมเคิล อี]] เป็นเรือบรรทุกสินค้าที่สามารถส่งเครื่องบินขึ้นฟ้าด้วยเครื่องดีด แต่ไม่สามารถรับเครื่องบินลงจอดได้ เรือเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นในภาวะฉุกเฉินในสงครามโลกครั้งที่ 2 เช่นเดียวกับ[[เรือพาณิชย์บรรทุกอากาศยาน]] เช่น เรือ[[เอ็มวี เอ็มไพร์ แมคอัลไพน์]] [[เรือดำน้ำบรรทุกอากาศยาน]] เช่น [[เรือดำน้ำบรรทุกอากาศยานเซอร์คูฟ]]ของฝรั่งเศส และ[[เรือดำน้ำชั้นไอ-400]] ของญี่ปุ่นที่สามารถบรรทุกเครื่องบิน[[ไอชิ เอ็ม6เอ]]ได้สามลำ ซึ่งถูกสร้างขึ้นครั้งแรกในทศวรรษที่ 2463 แต่ไม่ประสบความสำเร็จนักในสงครามโลกครั้งที่ 1
ไฟสงครามทำให้เกิดการสร้างเรือและการดัดแปลงเรือที่ไม่ได้ทำตามแบบปกติ เรือแคม (''CAM'') เช่น เรือ[[เอสเอส ไมเคิล อี]] เป็นเรือบรรทุกสินค้าที่สามารถส่งเครื่องบินขึ้นฟ้าด้วยเครื่องดีด แต่ไม่สามารถรับเครื่องบินลงจอดได้ เรือเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นในภาวะฉุกเฉินในสงครามโลกครั้งที่ 2 เช่นเดียวกับ[[เรือพาณิชย์บรรทุกอากาศยาน]] เช่น เรือ[[เอ็มวี เอ็มไพร์ แมคอัลไพน์]] [[เรือดำน้ำบรรทุกอากาศยาน]] เช่น [[เรือดำน้ำบรรทุกอากาศยานเซอร์คูฟ]]ของฝรั่งเศส และ[[เรือดำน้ำชั้นไอ-400]] ของญี่ปุ่นที่สามารถบรรทุกเครื่องบิน[[ไอชิ เอ็ม6เอ]]ได้สามลำ ซึ่งถูกสร้างขึ้นครั้งแรกในทศวรรษที่ 2463 แต่ไม่ประสบความสำเร็จนักในสงครามโลกครั้งที่ 1


[[File:USS Tripoli LPH10 a.jpg|thumb|เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ชั้นอิโวจิมา''ทริโปลี''ของสหรัฐ]]
[[ไฟล์:USS Tripoli LPH10 a.jpg|thumb|เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ชั้นอิโวจิมา''ทริโปลี''ของสหรัฐ]]


กองทัพเรือสมัยใหม่ที่ใช้เรือแบบดังกล่าวจะใช้เรือบรรทุกอากาศยานเป็นเรือหลักของกองเรือ ซึ่งเดิมที่เป็นหน้าที่ของ[[เรือประจัญบาน]] ในขณะที่บางคนจดจำการที่เรือเหล่านี้เป็นเรือหลักดำน้ำพร้อมขีปนาวุธ แต่ที่จดจำกันได้มากคืออำนาจการยิงของเรือที่ใช้้เป็นเครื่องขัดขว้างนิวเคลียร์ทางยุทธศาสตร์ มากกว่าหน้าที่ของเรือเหล่านี้ในกองเรือ<ref>http://www.navy.mil/navydata/cno/n87/usw/issue_5/ntlsecurity.html</ref> การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อตอบสนองกับการที่อำนาจทางอากาศเริ่มมีบทบาทสำคัญในการเอาชนะศัตรู สิ่งที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคือเครื่องบินพิสัยไกล คล่องแคล่ว และมีประสิทธิภาพ ปฏิบัติการเรือบรรทุกเครื่องบินยังคงดำเนินต่อไปภายหลังสงครามทั้งในด้านขนาดและความสำคัญ [[เรือบรรทุกอากาศยานขนาดหนัก]]ที่มีระวางขับน้ำ 75,000 ตันหรือมากกว่านั้น ได้กลายมาเป็นจุดสุดยอดของการพัฒนา บางลำใช้[[เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์]]เป็นแหล่งพลังงานและเป็นแกนหลักของกองเรือที่ทำหน้าที่ระยะไกล เรือจู่โจมสะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบก เช่น [[ยูเอสเอส ทาราวา (แอลเอชเอ-1)|ยูเอสเอส ทาราวา]]และ[[เอชเอ็มเอส โอเชียน (แอล-12)|เอชเอ็มเอส โอเชียน]] มีหน้าที่บรรทุกและรับส่งนาวิกโยธินและยังใช้เฮลิคอปเตอร์จำนวนมากเพื่อทำปฏิบัติการดังกล่าว เรือเหล่านี้มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า"เรือบรรทุกเครื่องบินคอมมานโด"หรือ"เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์"ซึ่งมีบทบาทรองในการบรรทุกและใช้งานอากาศยานขึ้นลงในแนวดิ่ง
กองทัพเรือสมัยใหม่ที่ใช้เรือแบบดังกล่าวจะใช้เรือบรรทุกอากาศยานเป็นเรือหลักของกองเรือ ซึ่งเดิมที่เป็นหน้าที่ของ[[เรือประจัญบาน]] ในขณะที่บางคนจดจำการที่เรือเหล่านี้เป็นเรือหลักดำน้ำพร้อมขีปนาวุธ แต่ที่จดจำกันได้มากคืออำนาจการยิงของเรือที่ใช้เป็นเครื่องขัดขว้างนิวเคลียร์ทางยุทธศาสตร์ มากกว่าหน้าที่ของเรือเหล่านี้ในกองเรือ<ref>http://www.navy.mil/navydata/cno/n87/usw/issue_5/ntlsecurity.html</ref> การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อตอบสนองกับการที่อำนาจทางอากาศเริ่มมีบทบาทสำคัญในการเอาชนะศัตรู สิ่งที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคือเครื่องบินพิสัยไกล คล่องแคล่ว และมีประสิทธิภาพ ปฏิบัติการเรือบรรทุกเครื่องบินยังคงดำเนินต่อไปภายหลังสงครามทั้งในด้านขนาดและความสำคัญ [[เรือบรรทุกอากาศยานขนาดหนัก]]ที่มีระวางขับน้ำ 75,000 ตันหรือมากกว่านั้น ได้กลายมาเป็นจุดสุดยอดของการพัฒนา บางลำใช้[[เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์]]เป็นแหล่งพลังงานและเป็นแกนหลักของกองเรือที่ทำหน้าที่ระยะไกล เรือจู่โจมสะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบก เช่น [[ยูเอสเอส ทาราวา (แอลเอชเอ-1)|ยูเอสเอส ทาราวา]]และ[[เอชเอ็มเอส โอเชียน (แอล-12)|เอชเอ็มเอส โอเชียน]] มีหน้าที่บรรทุกและรับส่งนาวิกโยธินและยังใช้เฮลิคอปเตอร์จำนวนมากเพื่อทำปฏิบัติการดังกล่าว เรือเหล่านี้มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า"เรือบรรทุกเครื่องบินคอมมานโด"หรือ"เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์"ซึ่งมีบทบาทรองในการบรรทุกและใช้งานอากาศยานขึ้นลงในแนวดิ่ง


ด้วยสาเหตุที่เรือเหล่านี้ไม่มีอำนาจการยิงเท่าเรือแบบอื่น ทำให้เรือบรรทุกเครื่องบินตกเป็นเป้าของเรือ เครื่องบิน เรือดำน้ำ และขีปนาวุธของศัตรู ดังนั้นเรือบรรทุกอากาศยานจึงต้องร่วมเดินทางพร้อมกับเรือแบบอื่นๆ ในจำนวนมากเพื่อให้การป้องกัน ให้เสบียง และให้การสนับสนุนเชิงรุก โดยเรียกกองเรือแบบนี้ว่ากองยุทธการหรือกองเรือบรรทุกเครื่องบิน
ด้วยสาเหตุที่เรือเหล่านี้ไม่มีอำนาจการยิงเท่าเรือแบบอื่น ทำให้เรือบรรทุกเครื่องบินตกเป็นเป้าของเรือ เครื่องบิน เรือดำน้ำ และขีปนาวุธของศัตรู ดังนั้นเรือบรรทุกอากาศยานจึงต้องร่วมเดินทางพร้อมกับเรือแบบอื่นๆ ในจำนวนมากเพื่อให้การป้องกัน ให้เสบียง และให้การสนับสนุนเชิงรุก โดยเรียกกองเรือแบบนี้ว่ากองยุทธการหรือกองเรือบรรทุกเครื่องบิน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:28, 12 กรกฎาคม 2556

เรือหลวงจักรีนฤเบศร

เรือบรรทุกอากาศยาน หรือ เรือบรรทุกเครื่องบิน (อังกฤษ: aircraft carrier) คือ เรือรบที่ออกแบบมาสำหรับใช้เป็นฐานทัพอากาศเคลื่อนที่ให้กับอากาศยาน เรือบรรทุกเครื่องบินนั้นทำให้กองทัพเรือสามารถส่งกำลังทางอากาศออกไปได้ไกลยิ่งขึ้นโดยขึ้นอยู่กับที่มั่นของเรือบรรทุกเครื่องบิน พวกมันพัฒนามาจากเรือที่สร้างจากไม้ที่ถูกใช้เพื่อปล่อยบัลลูนมาเป็นเรือรบพลังนิวเคลียร์ซึ่งสามารถบรรทุกอากาศยานปีกนิ่งและปีกหมุนได้หลายสิบลำ

โดยปกเรือบรรทุกอากาศยานจะเป็นเรือหลักของกองเรือและเป็นเรือที่มีราคาแพงอย่างมาก มี 10 ประเทศที่ครอบครองเรือบรรทุกอากาศยานโดยแปดประเทศมีเรือบรรทุกอากาศยานเพียงลำเดียวเท่านั้น ทั่วโลกมีเรือบรรทุกอากาศยานที่กำลังทำหน้าที่ 20 ลำโดยเป็นของสหรัฐเสีย 10 ลำ บางประเทศในจำนวนนี้ไม่มีเครื่องบินที่สามารถใช้กับเรือบรรทุกอากาศยานและบางประเทศได้เปล่ยนวัตถุประสงค์ของเรือไป[1]

ประวัติ

การทดลองของแซมวลเอล แลงลีย์ที่พยายามใช้เครื่องดีดส่งคนพร้อมเครื่องจักรออกจากเรือบ้านเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2447 ซึ่งล้มเหลว ความคิดของเขาในการพยายามส่งเครื่องบินจากเรือและการใช้เครื่องดีดเป็นตัวส่งนั้นนับเป็นความคิดที่จะสำเร็จในอนาคต
เรือบรรทุกเครื่องบินทะเลวากะมิยะของญี่ปุ่นซึ่งทำการโจมตีด้วยเครื่องบินจากเรือเป็นลำแลกของโลกเมื่อปีพ.ศ. 2457

ไม่นานหลังจากที่มีการสร้างอากศยานที่มีน้ำหนักมากกว่าอากาศขึ้นมาในปีพ.ศ. 2443 สหรัฐก็ได้ทำการทดลองใช้อากาศยานแบบดังกล่าวทำการบินขึ้นจากดาดฟ้าเรือในปีพ.ศ. 2453 และตามมาด้วยการทดสอบการลงจอดในปีพ.ศ. 2454 ในวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 เครื่องบินลำแรกที่ทำการบินขึ้นจากดาดฟ้าเรือสำเร็จได้ทำการบินจากเรือเอชเอ็มเอส ฮิเบอร์นาของราชนาวีอังกฤษ

ต่อมาในเดือนกันยายน พ.ศ. 2457 ก็เกิดเรือบรรทุกเครื่องบินทะเลลำแรกขึ้นคือ เรือบรรทุกเครื่องบินทะเลวากะมิยะของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งเป็นเรือลำแรกของโลกที่ประสบความสำเร็จในการเข้าโจมตีด้วยเครื่องบินจากทะเล[2][3] เรือลำดังกล่าวได้ต่อสู้กับเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยบรรทุกเครื่องบินมัวริซ ฟาร์แมนสี่ลำ ซึ่งจะนำขึ้นลงดาดฟ้าเรือด้วยเครนยก ในวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2457 เครื่องบินมัวริซ ฟาร์แมนลำหนึ่งได้ทำการบินจากเรือวากะมิยะและเข้าโจมตีเรือลาดตระเวนไคเซอร์ริน อลิซาเบธของออสเตรียฮังการีและเรือปืนจากัวร์ของเยอรมนี แต่กลับพลาดเป้าทั้งสอง[4][5]


ภาพถ่ายจากอากาศของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นที่แสดงให้เห็นเรือบรรทุกอากาศยานเฮาเชาที่เสร็จสมบูรณ์ในเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2465

การพัฒนาเรือดาดฟ้าเรียบทำให้เกิดเรือขนาดใหญ่ลำแรกๆ ขึ้น ในปีพ.ศ. 2461 เรือเอชเอ็มเอส อาร์กัสได้กลายเป็นเรือบรรทุกอากาศยานลำแรกของโลกที่สามารถนำเครื่องบินขึ้นและลงจอดได้[6] เมื่อถึงช่วงกลางทศวรรษที่ 2463 การปฏิวัติเรือบรรทุกแบบต่างๆ ก็เป็นไปได้ด้วยดี ส่งผลให้เกิดเรืออย่าง เรือเฮาเชา (พ.ศ. 2465) เอชเอ็มเอส เฮอร์เมส (พ.ศ. 2467) และเรือเบียน (พ.ศ. 2470) เรอืบรรทุกอากาศยานลำแรกๆ นั้นเป็นเรือที่ดัดแปลงมาจากเรือหลายแบบ เช่น เรือบรรทุก เรือลาดตระเวน เรือลาดตระเวนประจัญบาน หรือเรือประจัญบาน สนธิสัญญาวอชิงตันในปีพ.ศ. 2465 มีผลต่อการสร้างเรือบรรทุก สหรัฐและราชอาณาจักรได้รับอนุญาตให้สร้างเรือบรรทุกที่มีขนาดใหญ่ได้ถึง 135,000 ตัน ในขณะที่บางกรณีที่มีข้อยกเว้นให้สามารถดัดแปลงเรือหลักขนาดใหญ่กว่าให้เป็นเรือบรรทุกได้ เช่น เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเลกซิงตัน (พ.ศ. 2470)

การเข้าโจมตีเรือยูเอสเอส แฟรงคลินเมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2488 ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 742 คน

ในช่วงทศวรรษที่ 2456 กองทัพเรือมากมายเริ่มสั่งซื้อและสร้างเรือบรรทุกอากาศยานที่ทำการออกแบบเป็นพิเศษ นี่ทำให้การออกแบบนั้นตอบรับกับบทบาทในอนาคตและทำให้เกิดเรือที่ทรงอานุภาพ ในสงครามโลกครั้งที่ 2 เรือเหล่านี้ได้กลายมาเป็นกำลังสำคัญของกองเรือสหรัฐ อังกฤษ และญี่ปุ่น โดยเรียกเรือเหล่านี้ว่า กองเรือบรรทุกอากาศยาน

เรือบรรทุกอากาศยานถูกใช้อย่างหนักในสงครามโลกครั้งที่สองและมีแบบที่หลากหลายตามมา เรือบรรทุกอากาศยานคุ้มกัน เช่น ยูเอสเอส โบกถูกสร้างขึ้นแต่ตอนสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้ว่าเรือบางลำจะถูกสร้างมาเพื่อจุดประสงค์นั้นๆ แต่เรือส่วนมากเป็นเรือดัดแปลงจากเรือสินค้าเพราะว่าเป็นเรือที่มีระยะหยุดเหมาะที่จะให้การสนับสนุนทางอากาศแก่ขบวนเรือและการรุกสะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบก เรือบรรทุกอากาศยานขนาดเบาที่สร้างขึ้นโดยสหรัฐ เช่น ยูเอสเอส อินดีเพนเดนซ์เป็นเรือที่นำแนวคิดเรือบรรทุกอากาศยานคุ้มกันมาทำเป็นเรือที่ใหญ่ขึ้นและมีศักยภาพทางทหารมากขึ้น แม้ว่าเรือบรรทุกขนาดเบามักจะบรรทุกกองบินที่มีขนาดเท่ากับกองบินบนเรือบรรทุกคุ้มกัน แต่เรือบรทุกขนาดเบามีความได้เปรียบด้วยความเร็วที่เหนือกว่าเพราะเรือเหล่านี้ถูกดัดแปลงมาจากเรือครุยเซอร์

เรือบรรทุกอากาศยานมินาส เกเรียสของบราซิลในปีพ.ศ. 2527

ไฟสงครามทำให้เกิดการสร้างเรือและการดัดแปลงเรือที่ไม่ได้ทำตามแบบปกติ เรือแคม (CAM) เช่น เรือเอสเอส ไมเคิล อี เป็นเรือบรรทุกสินค้าที่สามารถส่งเครื่องบินขึ้นฟ้าด้วยเครื่องดีด แต่ไม่สามารถรับเครื่องบินลงจอดได้ เรือเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นในภาวะฉุกเฉินในสงครามโลกครั้งที่ 2 เช่นเดียวกับเรือพาณิชย์บรรทุกอากาศยาน เช่น เรือเอ็มวี เอ็มไพร์ แมคอัลไพน์ เรือดำน้ำบรรทุกอากาศยาน เช่น เรือดำน้ำบรรทุกอากาศยานเซอร์คูฟของฝรั่งเศส และเรือดำน้ำชั้นไอ-400 ของญี่ปุ่นที่สามารถบรรทุกเครื่องบินไอชิ เอ็ม6เอได้สามลำ ซึ่งถูกสร้างขึ้นครั้งแรกในทศวรรษที่ 2463 แต่ไม่ประสบความสำเร็จนักในสงครามโลกครั้งที่ 1

เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ชั้นอิโวจิมาทริโปลีของสหรัฐ

กองทัพเรือสมัยใหม่ที่ใช้เรือแบบดังกล่าวจะใช้เรือบรรทุกอากาศยานเป็นเรือหลักของกองเรือ ซึ่งเดิมที่เป็นหน้าที่ของเรือประจัญบาน ในขณะที่บางคนจดจำการที่เรือเหล่านี้เป็นเรือหลักดำน้ำพร้อมขีปนาวุธ แต่ที่จดจำกันได้มากคืออำนาจการยิงของเรือที่ใช้เป็นเครื่องขัดขว้างนิวเคลียร์ทางยุทธศาสตร์ มากกว่าหน้าที่ของเรือเหล่านี้ในกองเรือ[7] การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อตอบสนองกับการที่อำนาจทางอากาศเริ่มมีบทบาทสำคัญในการเอาชนะศัตรู สิ่งที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคือเครื่องบินพิสัยไกล คล่องแคล่ว และมีประสิทธิภาพ ปฏิบัติการเรือบรรทุกเครื่องบินยังคงดำเนินต่อไปภายหลังสงครามทั้งในด้านขนาดและความสำคัญ เรือบรรทุกอากาศยานขนาดหนักที่มีระวางขับน้ำ 75,000 ตันหรือมากกว่านั้น ได้กลายมาเป็นจุดสุดยอดของการพัฒนา บางลำใช้เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์เป็นแหล่งพลังงานและเป็นแกนหลักของกองเรือที่ทำหน้าที่ระยะไกล เรือจู่โจมสะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบก เช่น ยูเอสเอส ทาราวาและเอชเอ็มเอส โอเชียน มีหน้าที่บรรทุกและรับส่งนาวิกโยธินและยังใช้เฮลิคอปเตอร์จำนวนมากเพื่อทำปฏิบัติการดังกล่าว เรือเหล่านี้มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า"เรือบรรทุกเครื่องบินคอมมานโด"หรือ"เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์"ซึ่งมีบทบาทรองในการบรรทุกและใช้งานอากาศยานขึ้นลงในแนวดิ่ง

ด้วยสาเหตุที่เรือเหล่านี้ไม่มีอำนาจการยิงเท่าเรือแบบอื่น ทำให้เรือบรรทุกเครื่องบินตกเป็นเป้าของเรือ เครื่องบิน เรือดำน้ำ และขีปนาวุธของศัตรู ดังนั้นเรือบรรทุกอากาศยานจึงต้องร่วมเดินทางพร้อมกับเรือแบบอื่นๆ ในจำนวนมากเพื่อให้การป้องกัน ให้เสบียง และให้การสนับสนุนเชิงรุก โดยเรียกกองเรือแบบนี้ว่ากองยุทธการหรือกองเรือบรรทุกเครื่องบิน

ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 สนธิสัญญาอย่างสนธิสัญญาวอชิงตัน สนธิสัญญาลอนดอน และสนธิสัญญาลอนดอนครั้งที่ 2 ได้จำกัดขนาดของเรือ เรือบรรทุกอากาศยานตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 ถูกสร้างอย่างไร้ข้อจำกัดโดยขึ้นอยู่กับงบประมาณและทำให้เรือสามารถบรรทุกเครื่องบินที่มีขนาดใหญ่ขึ้นได้

อ้างอิง

  1. "China aircraft carrier confirmed by general". BBC News. 8 June 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 June 2011. สืบค้นเมื่อ 9 June 2011. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  2. Wakamiya is "credited with conducting the first successful carrier air raid in history"Source:GlobalSecurity.org
  3. "Sabre et pinceau", Christian Polak, p. 92.
  4. Donko, Wilhelm M.: Österreichs Kriegsmarine in Fernost: Alle Fahrten von Schiffen der k.(u.)k. Kriegsmarine nach Ostasien, Australien und Ozeanien von 1820 bis 1914. epubli, Berlin, (2013) - Page 4, 156-162, 427.
  5. "IJN Wakamiya Aircraft Carrier". globalsecurity.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 June 2011. สืบค้นเมื่อ 9 June 2011. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  6. Geoffrey Till, "Adopting the Aircraft Carrier: The British, Japanese, and American Case Studies" in Murray, Williamson; Millet, Allan R, บ.ก. (1996). Military Innovation in the Interwar Period. New York: Cambridge University Press. p. 194. ISBN 0-521-63760-0.
  7. http://www.navy.mil/navydata/cno/n87/usw/issue_5/ntlsecurity.html
บรรณานุกรม
  • aircraft carrier", The American Heritage Dictionary of the English Language, 4th Edition, 2000
  • aircraft carrier", พจนานุกรมศัพท์ทหาร, กรมยุทธศึกษาทหาร


แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA